MENU

Where the world comes to study the Bible

9. Strategy Nine: Guard Our Marriage

Related Media

Many enter marriage thinking that lust will no longer be a problem; however, nothing could be further from the truth. Satan is even more diligent in attacking marriages because the consequences of failure are greater. Moral failure in marriage not only affects the husband and wife but also the friends, the extended family, the children, and the children’s children. The consequences are drastic.

First Corinthians 7:2, 4-5 says this about sexual temptation in marriage:

But since there is so much immorality, each man should have his own wife, and each woman her own husband…. The wife’s body does not belong to her alone but also to her husband. In the same way, the husband’s body does not belong to him alone but also to his wife. Do not deprive each other except by mutual consent and for a time, so that you may devote yourselves to prayer. Then come together again so that Satan will not tempt you because of your lack of self-control.

Paul teaches that sex in marriage protects from immorality. For that reason, married couples are called to faithfully serve one another sexually. When couples are not consistent sexually, it opens the door for Satan’s temptations.

Here, I believe we learn something about Satan’s strategy in the marriage union. Before marriage, Satan works overtime to tempt couples into “sexual intimacy,” but in marriage, he works overtime to keep them from “sexual intimacy.” The strategy changes. Often, right after the wedding, couples find it difficult to be consistent sexually. The husband and wife are often busy at work during the day, and in the evening, they are too tired to cultivate physical intimacy. Temptation to neglect the sexual union becomes even greater when children enter the picture. Couples tend to focus on their children to the neglect of marital relations. In some cultures, the wives co-sleep with the children for several years which also tends to hinder the frequency of sex.

This lack of consistency opens the door for Satan to attack the marriage in many ways. Sometimes, women feel unattractive and less desired by their husband, especially after having a baby. Insecurities begin to creep in and negatively affect the relationship. If the husband is neglected sexually, the enemy often tempts him to find pleasure elsewhere—whether through pornography or through an emotional or physical relationship with another woman.

One way for couples to be more consistent in the sexual union is to talk openly about it and plan for it. The fact that it is not spontaneous doesn’t mean that it is not romantic. Just as in any area of life, “to fail to plan is to plan to fail.” Proverbs 21:5 says, “The plans of the diligent lead to profit as surely as haste leads to poverty.”

In marriage, couples protect themselves by faithfully practicing physical intimacy and closing the door on sexual temptation. In fact, Paul says if couples neglect physical intimacy, it should only be by mutual agreement for spiritual reasons—to fast and seek the Lord together.

Reflection

  1. Why is it important for married couples to practice sexual intimacy?
  2. What type of temptations does the enemy often bring when there is a lack of sexual intimacy?
  3. How can married couples strategically cultivate sexual intimacy?
  4. What other questions or thoughts do you have about this section?
  5. In what ways can you pray in response? Take a second to pray as the Lord leads.

Copyright © 2015 Gregory Brown

Related Topics: Marriage, Sexual Purity

10. Strategy Ten: Find Faithful Soldiers to Fight Beside

Related Media

Nobody fights a war alone—we need other godly soldiers to fight beside. Consider what Paul said to Timothy, “Flee the evil desires of youth, and pursue righteousness, faith, love and peace, along with those who call on the Lord out of a pure heart” (2 Tim 2:22).

Paul told Timothy to flee evil desires of youth, which refers to various ungodly desires including lust. We should find like-minded people of the same gender to fight beside—men with men and women with women. In a battle, the one fighting alone is the most vulnerable and susceptible to attack.

Why do some fight alone? Some fight alone because of shame—the enemy makes them feel ashamed of their sin. They feel like nobody else struggles with it, and therefore, they never tell anyone. However, Scripture says, “There is no temptation taken you but that which is common to man” (1 Cor 10:13). This battle is something that we all share to various degrees. Don’t let the enemy lie to you and keep you from getting the support needed. Some fight alone because they think they can win the battle without help. However, 1 Corinthians 12:21 says, “The eye can’t say to the hand, I don’t need you.” God created the body of Christ in such a way that we are interdependent—meaning we need one another. We need one another to accomplish the works God has called us to do including gaining victory over lust.

Proverbs 13:20 says this: “He who walks with the wise grows wise, but a companion of fools suffers harm.” Find wise, godly soldiers to pray with, to confess to, and to gain wisdom from in order to obtain and sustain victory against lust. These wise soldiers will include those who are battle tested and successful in winning the battle against lust. As a college student, I didn’t really start getting victory until I began to be mentored and held accountable by an older, spiritually mature man. Previously, my accountability partners were primarily young men like myself who wanted to be pure but were losing the battle. This was not wrong, but it wasn’t enough. Find wise, godly soldiers to help you win the victory.

In addition, it must be noticed that the companion of fools will suffer harm. This is also true in your battle against lust. If your intimate friendships and dating relationships are with individuals who are not zealous for righteousness and purity, their spiritual apathy and immorality will affect you negatively. Sometimes in order to have victory, not only must one seek godly companions, but one must let go of ungodly companions.

Again, wisdom and foolishness in Scripture is not an intellectual issue; it’s a moral issue. The fool says in his heart there is no God (Psalm 14:1). The fear of the Lord is the beginning of wisdom (Proverbs 9:10). Choose wise soldiers to fight with—those who are pursuing righteousness out of a pure heart (2 Tim 2:22)—and let go of those who hinder spiritual progress.

In these friendships with the wise, employ the tactics of accountability and prayer. James gives us an anointed prescription for breaking strongholds in the life of a believer. He says, ”Therefore confess your sins to each other and pray for each other so that you may be healed. The prayer of a righteous man is powerful and effective” (James 5:16). Though this healing may primarily refer to physical healing caused by sin (cf. James 5:14-15), it no doubt also refers to spiritual healing (cf. James 5:19-20). Personally, through confessing my failures to others and having them pray for me, I have experienced renewed strength for my battles.

Confession of sin both to God and to others is crucial. One of Satan’s schemes is encouraging believers to hide sin, instead of confessing it. Through spiritual hypocrisy, strongholds are developed and fortified in a believer’s life. This is the kind of Christian that Satan will destroy. They have closet addictions—closet lusts—that they never share with anyone.

When Christians don’t confess before God and others, they become desensitized to their sin—opening the door for greater strongholds. Paul talks about false teachers who have a “seared conscience” and are deceived by demons in 1 Timothy 4:1-2. Listen to what he says:

The Spirit clearly says that in later times some will abandon the faith and follow deceiving spirits and things taught by demons. Such teachings come through hypocritical liars, whose consciences have been seared as with a hot iron.

Paul called them “hypocritical liars”—meaning they professed godliness while living in unconfessed sin. Because of this, their consciences stopped working—making them more susceptible to demonic deception. Living in unconfessed sin opens the door for the devil in our lives.

This happens to Christians all the time. How does a pastor who preaches every week continually steal money from the church and live in an adulterous relationship? This type of stumbling doesn’t happen all at once. It’s typically a process of living in unrepentant sin while professing godliness. The hypocrisy slowly silences the conscience of the believer and further opens the door for the enemy.

We have all experienced this before. When I was in high school, I struggled with cursing. I would curse during the day, confess my sins at night, and commit to try harder the next day. However, eventually, I could curse and not feel convicted about it at all—I could live in it. By practicing sin, both my conscience and the Holy Spirit were silenced leading to greater sin.

This is what Satan aims to do in the area of sexual immorality. By continually living in unconfessed sexual sin, it opens the door for demonic deception and control, as demonstrated in the false teachers. Believers quickly find themselves bound to pornography addictions, sexual fantasies, homosexual desires, illicit sex, etc. This is the pathway to destruction, and it typically begins with Christians walking alone—with no accountability and confession in their lives.

Solomon, one of the wisest men to ever live, said this:

Two are better than one, because they have a good return for their work: If one falls down, his friend can help him up. But pity the man who falls and has no one to help him up! Also, if two lie down together, they will keep warm. But how can one keep warm alone? Though one may be overpowered, two can defend themselves. A cord of three strands is not quickly broken.
Ecclesiastes 4:9-12 (ESV)

“Pity the man who falls and has no one to help him up!” Who are your spiritual warriors who fight beside you? Who picks you up when you fall? Are there strongholds in your life that you haven’t confessed to anybody? He who walks with the wise becomes wise—they start to live a victorious, godly life.

This is a strategy every soldier must employ: Find other godly soldiers to fight with—to confess your sins to, to pray with, and to encourage. Also, be willing to let go of those who are not calling on the Lord out of a pure heart.

Reflection

  1. Why is it important to have spiritual accountability in the battle for purity?
  2. How should one select and initiate an accountability relationship?
  3. Who are your accountability partners and how have these relationships helped you?
  4. In what ways do worldly friendships and worldly dating relationships lead to suffering harm, especially in the area of sexual purity?
  5. What other questions or thoughts do you have about this section?
  6. In what ways can you pray in response? Take a second to pray as the Lord leads.

Copyright © 2015 Gregory Brown

Related Topics: Sexual Purity

Conclusion

Related Media

Are you following God’s Battle Plan for victory against lust? God’s Word equips the man of God for all righteousness (2 Tim 3:16-17). In Scripture, God gives us the strategies to win the battle against lust and to control our body in a way that is pure and honorable, not in lust like the Gentiles (1 Thess 4:3-5). This is not something we know naturally. It is something that must be learned as Paul said. Have you learned how to win the battle against lust? In order to win this battle, we must:

  1. Know Our Battle
  2. Count the Cost
  3. Declare War
  4. Guard Our Eyes
  5. Guard Our Ears
  6. Guard Our Mind
  7. Guard Our Free Time
  8. Guard Our Brothers and Sisters
  9. Guard Our Marriage
  10. Find Faithful Soldiers to Fight Beside
  11. Battle from Home by Living in the Spirit
  12. Declare Victory

Copyright © 2015 Gregory Brown

Related Topics: Sexual Purity

12. Strategy Twelve: Declare Victory

Related Media

Finally, we must understand that we are not fighting to win the battle against lust. The battle has already been won by Christ. We are trying to walk in the victory that Christ already accomplished. This is important to understand because one of Satan’s greatest tactics is lying. After a failure, he tells a believer many lies: it is impossible to be free from lust and that he or she will never be a man of God or woman of God.

By accepting lies, we get caught in Satan’s trap, and it’s easy to become discouraged, defeated, and bound. Jesus said this in John 8:34-36:

Jesus replied, “I tell you the truth, everyone who sins is a slave to sin. Now a slave has no permanent place in the family, but a son belongs to it forever. So if the Son sets you free, you will be free indeed.

Christ set us free from slavery to sin, and we must understand and appropriate this to walk in victory. Romans 6:6 says, “For we know that our old self was crucified with him so that the body of sin might be done away with, that we should no longer be slaves to sin.”

On the cross, Christ did not just pay for our sins; He also broke the power of sin. He took our sin nature and crucified it so we no longer would be slaves to it. Yes, we can still submit to our sin nature, but we no longer have to because the power of sin has been broken. Like God delivering the Israelites, he not only took them out of Egypt but destroyed the power of Egypt in the Red Sea. Our deliverer, Christ, did no less. We are no longer slaves to sin. However, like Israel, we can still choose to return to Egypt.

How can we walk in this victory? In Romans 6:11, Paul says, “In the same way, count yourselves dead to sin but alive to God in Christ Jesus.” The word “count” is an accounting term. This means the debt has been paid, and we are no longer responsible for it. In the same way, Paul says that we are no longer slaves of sin—including our lusts. We owe it no allegiance, and we don’t have to obey its cravings. However, we must mentally accept this reality instead of accepting the lies of the devil and our flesh.

Therefore, when Satan tempts us or makes us feel like we have to fall or that we can’t get back up after falling, we must recognize that it’s all a lie. It’s not true! Christ set us free from sin and now we are slaves of righteousness (Romans 6:18). Our allegiance is now to God.

I remember being a young believer and fighting a losing battle to lust. It felt like I would never be free—no matter how much I prayed, fasted, or read my Bible. I felt like a slave—captive to my lust. Understanding Christ’s act of abolition on the cross was one of the truths that allowed me to begin to walk in victory.

My bondage to lust was very hard to break. At times, I literally felt like a presence came into my room making me feel overwhelmed and vulnerable in that area. As I reckoned Christ’s abolition as true in my life, I began to fight based on this reality. When I experienced those times of extreme vulnerability, I would stand up and speak out loud what Christ had done for me. I would proclaim, “I am dead to sin; that is not me anymore. I am a slave of righteousness now,” and sometimes, I would tell the devil to leave as Christ did when tempted in the wilderness (Matt 4:10).

In my spiritual youth, I didn’t fully understand Christ’s work on the cross and the extent of what he had done for me. Therefore, I often fought without hope. But now, I fight because the victory has already been won—which gives me great confidence. Christ already defeated Satan and my lust (cf. Col 2:13-15). But, I must reckon this as true (Rom 6:11).

This theological reality is important for many reasons. (1) It means if we stumble, we can get back up. We don’t have to accept the lies and condemnation of the devil. Proverbs says the righteous falls seven times and gets back up (Prov 24:16). That’s what separates the righteous from the ungodly. They will not stay down. If you have failed in the past, if you failed today, you can start over now because you died to sin with Christ on the cross. Sin no longer identifies you—your identity is in Christ.

(2) But this doctrine is also essential in maintaining our victory. We are no longer slaves of sin but slaves to righteousness. My debt and allegiance is to God. So, I must strive to use the members of my body as instruments of righteousness leading to holiness (Rom 6:13, 19). First Corinthians 6:19-20 says it this way:

Do you not know that your body is a temple of the Holy Spirit, who is in you, whom you have received from God? You are not your own; you were bought at a price. Therefore honor God with your body.

We have been bought with a price and are now slaves of God. Therefore, we must faithfully serve God in purity and holiness.

We see the importance of this doctrine in Augustine’s walk with God after his conversion. Before Augustine became a Christian, he was very promiscuous. However, at his conversion, everything changed. One day, he ran into a former fling. When he saw her, he turned and ran in the other direction. The lady saw him and was confused. She yelled, “My love! My love! Where are you going? It is I!” He replied, “I know! But it is not I anymore!” and he continued to run away. Augustine recognized this reality—he was not the same. He had been crucified with Christ and he no longer lived—Christ lived within him (Gal 2:20). He was no longer a slave of sin but now a slave of righteousness.

We similarly must reckon this a reality if we are going to walk in victory over lust. We must declare our victory in Christ and walk in it.

Have you declared victory? Or have you declared failure—that you can’t win or be free from bondage to lust? If that is you, then you have believed Satan’s lie instead of Christ’s truth. He who the Son sets free is free indeed (John 8:36). Christ has set you free. Declare your victory and fight to walk in it. Don’t give up until your life represents your position in Christ—free from bondage to sin to serve God.

Reflection

  1. How did Christ break the power of sin over our lives? Why is understanding this reality—our new identity in Christ—so important to walking in victory?
  2. In what ways have you experienced the lies and condemnation of Satan in regards to battling lust?
  3. How should we count or reckon our death to lust and freedom from its slavery a reality as Paul teaches (Rom 6:11)?
  4. What are the primary strategies from God’s Battle Plan for Purity that you feel pressed to implement in your life and/or in mentoring others?
  5. What other questions or thoughts do you have about this section?
  6. In what ways can you pray in response? Take a second to pray as the Lord leads.

Copyright © 2015 Gregory Brown

Related Topics: Sexual Purity

11. Strategy Eleven: Battle from Home

Related Media

Whether in sports or war, there is something called home-field advantage. For an athletic team, the home crowd and familiarity with their field or gym gives them a distinct advantage over an opponent. In war, familiarity with the terrain and access to all of one’s resources is a tremendous advantage over an enemy.

Living in the world is like living in enemy territory. Satan is the ruler of this world, and therefore, the world culture is immoral. Christians are constantly bombarded with sexual images and suggestive material from every direction. However, though residents of this world, Christians also reside in Christ. It’s wonderful to see how Paul expresses this dual residency when talking to the Corinthians. In 1 Corinthians 1:2, he says, “To the church of God that is in Corinth, to those sanctified in Christ Jesus.” They are located in Corinth and, at the same time, located in Christ—God. This is where we must war from—our positional relationship with God.

In describing, not so much our war with the world system, but our war with our sinful nature, Paul says, “So I say, live by the Spirit, and you will not gratify the desires of the sinful nature” (Gal 5:16). He says live—make our home—in the Spirit and we will not gratify the desires of the sinful nature. Not only do we have the world attacking us with lust, but we also are attacked from the inside. Our nature lusts after and desires the things of this world. But Paul says that we can have victory if we make our home in the Spirit—our relationship with God.

How do we do this? We do this by doing what the Spirit wants us to do. When we are walking in obedience, meditating daily on God’s Word, constantly worshipping, fellowshipping with the saints, and serving God, we will win against our flesh.

Paul describes the fruits of this abiding relationship in Galatians 5:22-23. He says, “But the fruit of the Spirit is love, joy, peace, patience, kindness, goodness, faithfulness, gentleness and self-control. Against such things there is no law.” When abiding in the Spirit, one will produce the fruits of the Spirit which includes “self-control”—the ability to control one’s lusts.

I have learned to look at my illicit sexual desires this way. If I am struggling with a wandering eye and lust, then it is a warning that I am not living in the Spirit as I should. I look at it as hunger pains. Hunger pains are signals to our brain that it is time to eat. Similarly, we should look at our battle with lust in the same way.

If we are losing this battle, then it is a warning signal for us to increase our time with God—abiding in his Word, prayer, worship, and fellowship. God promises that if we live in the Spirit, we will not satisfy the lust of the flesh. This is a battle that we can win.

Personally, in the early stages of pastoral ministry and marriage, I fell back into a struggle with pornography. One of the ways I dealt with this was by implementing a partial fast into my weekly schedule. After church on Sunday, about midweek, I always felt more vulnerable—not just to lust but also to depression. Therefore, I started fasting every Wednesday for several years. I would fast until after lunch to allow myself to focus on God. At breakfast and lunch, I would spend more time in the Word and prayer by skipping those meals. During that season, I had to increase my disciplines—making my home in the Spirit—so I would not fulfill the lust of the flesh.

This is true for each of us. God has given us a promise that we can have victory against lust and any other sin if we make our home in the Spirit of God. This can only be done through discipline since we live in a world system that is anti-God and with a flesh that rebels against him as well. We must through discipline make our home in the Spirit—our relationship with God. Paul told Timothy, “discipline yourself unto godliness” (1 Tim 4:7). We must do the same.

Are you fighting from home? If we are not abiding in the Spirit, we will surely abide in sin. There is no middle ground.

Reflection

  1. Why is it important for a believer to live in the Spirit when battling lust?
  2. What type of disciplines should we practice in order to consistently live in the Spirit? Are there any ways God is calling you to increase those disciplines?
  3. How have you experienced losing the battle when not abiding in God?
  4. What other questions or thoughts do you have about this section?
  5. In what ways can you pray in response? Take a second to pray as the Lord leads.

Copyright © 2015 Gregory Brown

Related Topics: Sexual Purity

Appendix 1: Walking the Romans Road

Related Media

How can a person be saved? From what is he saved? How can someone have eternal life? Scripture teaches that after death each person will spend eternity either in heaven or hell. How can a person go to heaven?

Paul said this to Timothy:

But as for you, continue in what you have learned and have become convinced of, because you know those from whom you learned it, and how from infancy you have known the holy Scriptures, which are able to make you wise for salvation through faith in Christ Jesus.
2 Timothy 3:14-15

One of the reasons God gave us Scripture is to make us wise for salvation. This means that without it nobody can know how to be saved.

Well then, how can a people be saved and what are they being saved from? A common method of sharing the good news of salvation is through the Romans Road. One of the great themes, not only of the Bible, but specifically of the book of Romans is salvation. In Romans, the author, Paul, clearly details the steps we must take in order to be saved.

How can we be saved? What steps must we take?

Step One: We Must Accept that We Are Sinners

Romans 3:23 says, “For all have sinned and fall short of the glory of God.” What does it mean to sin? The word sin means “to miss the mark.” The mark we missed is looking like God. When God created mankind in the Genesis narrative, he created man in the “image of God” (1:27). The “image of God” means many things, but probably, most importantly it means we were made to be holy just as he is holy. Man was made moral. We were meant to reflect God’s holiness in every way: the way we think, the way we talk, and the way we act. And any time we miss the mark in these areas, we commit sin.

Furthermore, we do not only sin when we commit a sinful act such as: lying, stealing, or cheating; again, we sin anytime we have a wrong heart motive. The greatest commandments in Scripture are to “Love God with all our heart, mind, and soul and to love others as ourselves” (Matt 22:36-40, paraphrase). Whenever we don’t love God supremely and love others as ourselves, we sin and fall short of the glory of God. For this reason, man is always in a state of sinning. Sadly, even if our actions are good, our heart is bad. I have never loved God with my whole heart, mind, and soul and neither has anybody else. Therefore, we have all sinned and fall short of the glory of God (Rom 3:23). We have all missed the mark of God’s holiness and we must accept this.

What’s the next step?

Step Two: We Must Understand We Are under the Judgment of God

Why are we under the judgment of God? It is because of our sins. Scripture teaches God is not only a loving God, but he is a just God. And his justice requires judgment for each of our sins. Romans 6:23 says, “For the wages of sin is death.”

A wage is something we earn. Every time we sin, we earn the wage of death. What is death? Death really means separation. In physical death, the body is separated from the spirit, but in spiritual death, man is separated from God. Man currently lives in a state of spiritual death (cf. Eph 2:1-3). We do not love God, obey him, or know him as we should. Therefore, man is in a state of death.

Moreover, one day at our physical death, if we have not been saved, we will spend eternity separated from God in a very real hell. In hell, we will pay the wage for each of our sins. Therefore, in hell people will experience various degrees of punishment (cf. Lk 12:47-48). This places man in a very dangerous predicament—unholy and therefore under the judgment of God.

How should we respond to this? This leads us to our third step.

Step Three: We Must Recognize God Has Invited All to Accept His Free Gift of Salvation

Romans 6:23 does not stop at the wages of sin being death. It says, “For the wages of sin is death, but the gift of God is eternal life through Jesus Christ our Lord.” Because God loved everybody on the earth, he offered the free gift of eternal life, which anyone can receive through Jesus Christ.

Because it is a gift, it cannot be earned. We cannot work for it. Ephesians 2:8-9 says, “For it is by grace you have been saved, through faith—and this not from yourselves, it is the gift of God—not by works, so that no one can boast.”

Going to church, being baptized, giving to the poor, or doing any other righteous work does not save. Salvation is a gift that must be received from God. It is a gift that has been prepared by his effort alone.

How do we receive this free gift?

Step Four: We Must Believe Jesus Christ Died for Our Sins and Rose from the Dead

If we are going to receive this free gift, we must believe in God’s Son, Jesus Christ. Because God loved us, cared for us, and didn’t want us to be separated from him eternally, he sent his Son to die for our sins. Romans 5:8 says, “But God demonstrates his own love for us in this: While we were still sinners, Christ died for us.” Similarly, John 3:16 says, “For God so loved the world that he gave his only begotten son that whosoever believeth in him should not perish but have eternal life.” God so loved us that he gave his only Son for our sins.

Jesus Christ was a real, historical person who lived 2,000 years ago. He was born of a virgin. He lived a perfect life. He was put to death by the Romans and the Jews. And he rose again on the third day. In his death, he took our sins and God’s wrath for them and gave us his perfect righteousness so we could be accepted by God. Second Corinthians 5:21 says, “God made him who had no sin to be sin for us, so that in him we might become the righteousness of God.” God did all this so we could be saved from his wrath.

Christ’s death satisfied the just anger of God over our sins. When God saw Jesus on the cross, he saw us and our sins and therefore judged Jesus. And now, when God sees those who are saved, he sees his righteous Son and accepts us. In salvation, we have become the righteousness of God.

If we are going to be saved, if we are going to receive this free gift of salvation, we must believe in Christ’s death, burial, and resurrection for our sins (cf. 1 Cor 15:3-5, Rom 10:9-10). Do you believe?

Step Five: We Must Confess Christ as Lord of Our Lives

Romans 10:9-10 says,

That if you confess with your mouth, “Jesus is Lord,” and believe in your heart that God raised him from the dead, you will be saved. For it is with your heart that you believe and are justified, and it is with your mouth that you confess and are saved.

Not only must we believe, but we must confess Christ as Lord of our lives. It is one thing to believe in Christ but another thing to follow Christ. Simple belief does not save. Christ must be our Lord. James said this: “Even the demons believe and shudder” (James 2:19) but the demons are not saved—Christ is not their Lord.

Another aspect of making Christ Lord is repentance. Repentance really means a change of mind that leads to a change of direction. Before we met Christ, we were living our own life and following our own sinful desires. But when we get saved, our mind and direction change. We start to follow Christ as Lord.

How do we make this commitment to the lordship of Christ so we can be saved? Paul said we must confess with our mouth “Jesus is Lord” as we believe in him. Romans 10:13 says, “Everyone who calls on the name of the Lord will be saved.”

If you admit that you are a sinner and understand you are under God’s wrath because of them; if you believe Jesus Christ is the Son of God, that he died on the cross for your sins, and rose from the dead for your salvation; if you are ready to turn from your sin and cling to Christ as Lord, you can be saved.

If this is your heart, then you can pray this prayer and commit to following Christ as your Lord.

Dear heavenly Father, I confess I am a sinner and have fallen short of your glory, what you made me for. I believe Jesus Christ died on the cross to pay the penalty for my sins and rose from the dead so I can have eternal life. I am turning away from my sin and accepting you as my Lord and Savior. Come into my life and change me. Thank you for your gift of salvation.

Scripture teaches that if you truly accepted Christ as your Lord, then you are a new creation. Second Corinthians 5:17 says, “Therefore, if anyone is in Christ, he is a new creation; the old has gone, the new has come!” God has forgiven your sins (1 John 1:9), he has given you his Holy Spirit (Rom 8:15), and he is going to disciple you and make you into the image of his Son (cf. Rom 8:29). He will never leave you nor forsake you (Heb 13:5), and he will complete the work he has begun in your life (Phil 1:6). In heaven, angels and saints are rejoicing because of your commitment to Christ (Lk 15:7).

Praise God for his great salvation! May God keep you in his hand, empower you through the Holy Spirit, train you through mature believers, and use you to build his kingdom! “The one who calls you is faithful, he will do it” (1 Thess 5:24). God bless you!

Copyright © 2015 Gregory Brown

Related Topics: Soteriology (Salvation)

13. “เกลือหยิบหนึ่งในตำหรับการข่มเหง” (มัทธิว 5:13-16)

Related Media

คำนำ1

เมื่อมีคนต่างชาติอาศัยอยู่ในประเทศของเรา แต่ในฐานะลูกจ้างของรัฐบาลประเทศเขา เมื่อรวบรวมได้ข้อมูลและสร้างสัมพันธ์เพื่อเป็นประโยชน์ให้แก่รัฐบาลฝ่ายเขา และเมื่อเขาทำตัวประกาศว่าเป็นตัวแทนรัฐบาลของประเทศตนเอง เราเรียกคนแบบนี้ว่าอะไร?

เมื่อเขาทำสิ่งต่างๆเหล่านี้ แต่เก็บเรื่องความจงรักภักดีของประเทศตนเองเป็นความลับ เราเรียกเขาว่าอะไร?

ตัวเลือกหนึ่งอาจเป็น “ทูต” บางคนอาจบอกเป็น “สายลับ” คุณอยากได้ประเภทไหนมาเป็นเพื่อนบ้านครับ?

โครงร่างพระกิตติคุณมัทธิว

โครงร่างของพระกิตติคุณมัทธิวจากจุดยืนในการสร้างสาวกของชาติ

  1. หลักการแรก มัทธิว 4:18-5: – พระเยซูทรงเรียกสาวกมารวมกัน และแสดงให้เห็นวิธีการทำพระราชกิจของพระองค์ (4:23) เมื่อพระองค์เห็นฝูงชนจำนวนมาก จึงประทับนั่งและสั่งสอนพวกสาวก (5:1)
  2. หลักการที่สอง มัทธิว 9:35-10:5ก – พระเยซูทรงแสดงพระราชกิจให้เห็นในแบบของพระองค์ (9:35) เมื่อเห็นฝูงชนมากมาย ทรงสงสารพวกเขา จึงเรียกพวกสาวกมาและประทานสิทธิอำนาจให้ (10:1) และสั่งสอนพวกเขา (10:5)
  3. หลักการที่สาม มัทธิว 28:16-20 – พระเยซูทรงเรียกสาวกมาด้วยกัน มอบอำนาจให้พวกเขาไปสร้างชนทุกชาติให้เป็นสาวกในพระนามของพระองค์

ตามขั้นตอน พระเยซูทรงสร้างสาวกโดยสั่งสอนด้วยตัวอย่างและด้วยคำพูด แล้วส่งพวกเขาออกไปสร้างสาวกต่อ พระเยซูทรงสร้างสาวกและทรงทำพระราชกิจ ทรงส่งพวกสาวกออกไปทำพันธกิจและส่งสาวกของพระองค์ไปสร้างสาวก

พระวจนะตอนนี้อยู่ต่อจากคำสอนต่างๆในพระกิตติคุณมัทธิว เรากำลังฟังสิ่งที่พระเยซูตรัสสั่งสาวกใหม่ สาวกที่เคยเห็นการงานของพระองค์แต่จำเป็นต้องได้ยินจากถ้อยคำของพระองค์ พระคำตอนนี้เริ่มด้วยคำอธิบายที่ไม่ใช่เป็นการงานของภายนอกที่สร้าง คุณลักษณะสาวก แต่เป็นคำสอนถึงรากฐานการเปลี่ยนของจิตใจภายใน ยังมีข้อสังเกตุอีกมากในคำสอนนี้ แต่ผมอยากให้เราเริ่มด้วยการอ่าน แล้วถามตัวเองว่า “ทำไมต้องมีคนทนทุกข์ ถูกข่มเหงเพื่อจะดำเนินตามแนวคิดและจิตใจแบบนี้?”

มัทธิว 5:3-12

3 “บุคคลผู้ใด รู้สึกบกพร่องฝ่ายวิญญาณ ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะแผ่นดินสวรรค์เป็นของเขา

4 “บุคคลผู้ใดโศกเศร้า ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าเขาจะได้รับการทรงปลอบประโลม

5 “บุคคลผู้ใดมีใจอ่อนโยน ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าเขาจะได้รับแผ่นดินโลกเป็นมรดก

6 “บุคคลผู้ใดหิวกระหาย ความชอบธรรม ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าพระเจ้าจะทรงให้อิ่มบริบูรณ์

7 “บุคคลผู้ใดมีใจกรุณา ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าเขาจะได้รับพระกรุณาตอบ

8 “บุคคลผู้ใดมีใจบริสุทธิ์ ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าเขาจะได้เห็นพระเจ้า

9 “บุคคลผู้ใดสร้างสันติ ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าพระเจ้าจะทรงเรียกเขาว่าเป็นบุตร

10 “บุคคลผู้ใดต้องถูกข่มเหงเพราะเหตุความชอบธรรม ผู้นั้นเป็นสุข
เพราะว่าแผ่นดินสวรรค์เป็นของเขา

11 “เมื่อเขาจะติเตียนข่มเหง และนินทาว่าร้ายท่านทั้งหลายเป็นความเท็จเพราะเรา ท่านก็เป็นสุข 12 จงชื่นชมยินดี เพราะว่าบำเหน็จของท่านมีบริบูรณ์ในสวรรค์ เพราะเขาได้ข่มเหงผู้เผยพระวจนะทั้งหลาย ที่อยู่ก่อนท่านเหมือนกัน”2

สังเกตุดู ไม่มีอะไรเป็นต้นเหตุในคำเทศนาบนภูเขาที่นำไปถึงการถูกข่มเหง3 สาเหตุของการถูกข่มเหงเจาะจงอยู่ในมัทธิว 5:11 “เพราะเรา” การข่มเหงในตัวมันเองไม่ได้นำมาซึ่งพระพร แต่การข่มเหงเหตุเพราะความชอบธรรมในองค์พระเยซูคริสต์มาพร้อมกับพระสัญญาแห่งพระพร!

ในมัทธิว 5:12 พูดถึงการข่มเหงผู้เผยพระวจนะ อะไรทำให้ผู้เผยพระวจนะเป็นผู้เผยพระวจนะ? – เขาทำอะไร พูดเรื่องใด? อะไรทำให้ผู้เผยพระวจนะในพระคัมภีร์เดิมต้องเจอกับปัญหาและถูกข่มเหง – การกระทำหรือคำพูดของพวกเขา? ในพระคัมภีร์ใหม่ อะไรทำให้ยอห์นผู้ให้บัพติศมาต้องทนทุกข์ถูกข่มเหงถึงชีวิต – สิ่งที่ท่านทำ (ให้บัพติศมาพระเยซู) หรือคำพูดของท่าน? ไม่ใช่การกระทำ แต่เป็นคำเผยพระวจนะ “เพราะเรา” คำพูดที่เป็นพยานถึงพระเยซู ไม่เช่นนั้นจะพูดถึงสาวกว่าจะถูกติเตียนข่มเหงเหตุเพราะพระองค์ได้อย่างไร?

เกลือและความสว่าง

เมื่อเข้าสู่บทเรียนนี้ เราหนีไม่พ้นที่จะรับผลกระทบจากอุณหภูมิของวัฒนธรรมรอบตัว ผู้คนต่างก็บอกว่าเราถูกเรียกให้ไปเป็นเกลือและความสว่าง เบื้องต้นน่าจะหมายถึงทำความดี โลกอยากให้คริสเตียนอยู่ในมุมของการทำความดีและไม่ต้องไปป่าวประกาศมาก โลกยินดีจะยกย่องคริสเตียนที่ทำความดีเกินกว่ามาตรฐานทั่วไป ตราบเท่าที่เราปิดปากเงียบเรื่องความบาป ความชอบธรรม และการพิพากษา ผมแน่ใจว่ามีชื่อคริสเตียนที่ทำความดีและได้รับเกียรติจากโลกหลายคนผุดขื้น มาในหัว เป็นเพราะคริสเตียนเหล่านี้ไม่กล้าประกาศเรื่องข่าวประเสริฐของพระเยซู คริสต์

ผมเคยเห็นในนิตยสารไทม์เขียนเรื่อง “มิชชันนารี่ปลอมตัว” ตอนที่อ่านผมรู้สึกว่ากำลังอ่านถึงจิตวิญญาณของโลกนี้ ประทับใจที่พบว่ามิชชันนารีบางคนถูกมองอย่างชื่นชมโดยโลก หนึ่งในนั้น เอ็ดวาร์ด มิลเลอร์ ตอนอยู่ที่อิรัก พยายามเลี้ยงอาหารให้กับผู้ป่วยทางจิตของอิรัก แต่นิตยสารไทม์กลับเขียนว่า:

สิ่งหนึ่งที่ไม่ได้อยู่ในรายการที่เขาต้องทำ – การประกาศ …

ในแบกแดด คณะกรรมการลูกจ้างคริสเตียนโปรแตสแต้นท์ไม่รู้สึกอยากจะแบ่งปันข่าวประเสริฐ กับลูกค้า … เขาบอกว่า “คุณต้องตระหนักว่าคริสเตียนเป็นส่วนหนึ่งของตะวันออกกลางมาตั้ง 2,000 ปีแล้ว ใครๆก็รู้ว่าเรานับถือศาสนาอะไร ไม่จำเป็นต้องอธิบายเพิ่มเติม ผมไม่รู้สึกว่ามีอะไรจะสอนคนมุสลิมพอๆกับที่เขาไม่มีอะไรจะสอนผม”4

มิชชันนารี่มิลเลอร์ ก็ไม่อยู่ในข่ายเสี่ยงที่จะถูกข่มเหงเหตุเพราะพระ เยซูคริสต์ ตราบเท่าที่เขาละเลยคำพยานของข่าวประเสริฐ เขาอาจจะได้รับการยกย่องมากมายจากทางโลก แต่เขาได้เป็นเกลือหรือความสว่างหรือ? ให้เราอ่านพระวจนะสามข้อนี้อีกครั้ง

13 “ท่านทั้งหลายเป็นเกลือแห่งโลก ถ้าเกลือนั้นหมดรสเค็มไปแล้ว จะทำให้กลับเค็มอีกอย่างไรได้ แต่นั้นไปก็ไม่เป็นประโยชน์อะไร มีแต่จะทิ้งเสียสำหรับคนเหยียบย่ำ 14 “ท่านทั้งหลายเป็นความสว่างของโลก นครซึ่งอยู่บนภูเขาจะปิดบังไว้ไม่ได้ 15 เมื่อจุดตะเกียงแล้ว ไม่มีผู้ใดเอาถังครอบไว้ ย่อมตั้งไว้บนเชิงตะเกียง จะได้ส่องสว่างแก่ทุกคนที่อยู่ในเรือนนั้น 16 ท่านทั้งหลายก็เหมือนกับตะเกียง จงส่องสว่างแก่คนทั้งปวง เพื่อว่าเมื่อเขาได้เห็นความดีที่ท่านทำ เขาจะได้สรรเสริญพระบิดาของท่าน ผู้ทรงอยู่ในสวรรค์

สองสิ่งที่นำมาใช้เปรียบเทียบในตอนนี้ พระเยซูให้สาวกแท้ของพระองค์เป็นกรณีตัวอย่างในสภาพแวดล้อมของโลกที่ล้มลง “ท่านทั้งหลายเป็นเกลือแห่งโลก …ท่านทั้งหลายเป็นความสว่างของโลก” นักวิชาการต่างคาดเดากันถึงธรรมชาติความคล้ายของเกลือและธรรมชาติของสาวกพระ เยซู แต่ประเด็นหลักนั้นชัดเจนมาก – เราถูกกำหนดให้แตกต่างจากโลก เกลือที่ต่างจากอาหารรสจืด และความสว่างที่ต่างจากความมืด ไม่ว่าความสว่างส่องไปที่ใด ความมืดก็จะถูกขับไล่ไป อ.เปาโลถามใน 2โครินธ์ 6:14 “เพราะว่าความชอบธรรมจะมีหุ้นส่วนอะไรกับความอธรรม และความสว่างจะเข้าสนิทกับความมืดได้อย่างไร?” ความสว่างและความมืดไปด้วยกันไม่ได้เพราะทั้งสองต่างขัดแย้งกันสิ้นเชิง

ความคล้ายคลึงกันในประเด็นที่สองคือเราไม่เพียงแต่ต่างจากโลกนี้ แต่เราถูกกำหนดให้ดีกว่าเดิม เกลือต่างจากอาหารรสจืด เพราะทำให้อาหารนั้นมีรสชาตน่ารับประทาน ความสว่างต่างจากความมืดเพราะช่วยคนที่หลงอยู่ในความมืดได้ เกลือเพียงนิดเดียวสามารถปรุงรสอาหารให้อร่อยได้ ความสว่างเพียงเล็กน้อยสามารถเจาะฝ่าความมืดเข้าไปได้ แม้มีคริสเตียนแท้ไม่กี่คนในชุมชน อาจสร้างกำลังใจให้แก่สังคมได้ ตอนที่ผมและภรรยาไปตั้งคริสตจักรในอัฟริกาตะวันออก มีแค่สองเปอร์เซ็นต์ของคนในหมู่บ้านที่เป็นคริสเตียน พวกชาวบ้านที่ทำสิ่งชั่วร้ายในชุมชนเริ่มรู้สึกอึดอัด หลายคนเริ่มเลี่ยงไปจากชุมชนเพื่อจะได้ปล่อยตัวและทำบาปต่อได้อย่างสบายใจ

สังเกตุดู ความสว่างไม่ได้เท่าเทียมกับการทำดี ในข้อ 16 ความสว่างส่องให้เห็นความดีที่กระทำเพื่อให้มนุษย์สรรเสริญพระบิดาที่บน สวรรค์ อะไรทำให้การงานของเราเห็นได้จนเป็นที่ถวายพระสิริแด่พระเจ้า? ยิ่งใช้เวลาศึกษาพระวจนะตอนนี้เท่าไร ยิ่งทำให้ผมเชื่อว่าคำพยานของเราเกี่ยวกับพระเยซูคริสต์จะส่องไปที่การงาน ทำให้พวกเขาต้องสรรเสริญพระสิริของพระเจ้า หลายคนกำลังทำในสิ่งที่โลกเรียกว่าความดี แต่ไม่ได้ทำให้โลกสรรเสริญพระเจ้า ที่จริงการงานเช่นนั้นมักกลับไปยกย่องผู้กระทำแทน ทำดีในตัวของมันเองไม่ใช่ความสว่าง ต้องจุดประกายด้วยถ้อยคำที่นำพวกเขาให้สามารถถวายเกียรตินั้นให้แด่พระเยซู

เกลือก็เช่นกัน ถูกใช้ในพระคัมภีร์ใหม่ตอนอื่น เป็นภาพของคำพูดมากกว่าการกระทำ

3 และอธิษฐานเผื่อเราด้วย เพื่อพระเจ้าจะได้ทรงโปรดเปิดประตูไว้ให้เราสำหรับพระวาทะนั้น ให้เรากล่าวความล้ำลึกของพระคริสต์ (ที่ข้าพเจ้าถูกจำจองอยู่ก็เพราะเหตุนี้) 4 เพื่อข้าพเจ้าจะได้กล่าวชี้แจงข้อความ ตามสมควรที่ข้าพเจ้าควรจะกล่าวนั้น 5 จงปฏิบัติกับคนภายนอกด้วยใช้สติปัญญา โดยฉวยโอกาส 6 จงให้วาจาของท่านประกอบด้วยเมตตาคุณเสมอ ปรุงด้วยเกลือให้มีรส เพื่อท่านจะได้รู้จักตอบให้จุใจแก่ทุกคน (โคโลสี 4:3-6)

ในโคโลสี 4:6 อ.เปาโลพูดถึงการใช้คำพูดที่มีเมตตาคุณ ปรุงด้วยเกลือให้มีรส บริบทคือการพูดที่สำแดงถึงความล้ำลึกของข่าวประเสริฐแห่งพระเยซูคริสต์ เป็นคำพูดที่ทำให้ อ.เปาโลถูกล่ามและจำคุก คุณอาจคิดว่า อ.เปาโลคงอธิษฐานขอให้ท่านได้หลุดรอดออกมาจากคุก แต่สำหรับท่านเรื่องที่สำคัญกว่ามากคือได้สำแดงข่าวประเสริฐให้เป็นที่ ประจักษ์ และชาวโคโลสียังได้ฟังถึงข้อพิสูจน์ที่สามารถปกป้องความเชื่อได้อย่างเกิดผล เป็นถ้อยคำที่ปรุงรสด้วยเกลือและนำมาซึ่งการข่มเหงเหตุเพราะพระคริสต์จนแม้ ทุกวันนี้

ประเด็นที่สามคือสิ่งที่นำมาใช้เปรียบเทียบทั้งคู่มีนัยแฝงคล้ายกัน ในความเห็นของผม นักวิชาการทำการค้นคว้ามากมายเพื่อหาว่าทำไมเกลือถึงสูญเสียความเค็มไปได้5 ความจริงคือ เกลือ “ไม่เคย” สูญเสียความเค็ม พอๆกับความสว่างไม่เคยสูญเสียแสงสว่าง เกลือนั้นเค็ม ความสว่างนั้นสว่าง จะเป็นอื่นไปได้อย่างไร? มีนัยแฝงอยู่อย่างคาดไม่ถึง เกลือที่ไม่มีความเค็ม และความสว่างที่ไม่มีแสงสว่าง เป็นภาพของผู้ติดตามพระเยซูคริสต์ที่ไม่อาจขาดคำพยานที่ชัดเจนถึงพระสิริของ พระองค์ได้

ใครคือความสว่างของโลก?

บริบทของการเปรียบเทียบตอนนี้ย้ำให้ผมเห็นว่าพระเยซูกำลังสอนเราเรื่อง การออกพระนามของพระองค์มากกว่าการไปทำดี แต่ไวยากรณ์ในตอนนี้กลับทำให้ผมค้นและเจาะลึกลงไปอีก พระกิตติคุณยอห์นตลอดทั้งเล่ม “ความสว่างของโลก” ในองค์พระเยซู ยอห์นอธิบายถึงพระเยซูด้วยถ้อยคำว่า “ความสว่างแท้ที่ทำให้มนุษย์ทุกคนเห็นความจริงนั้นได้ แม้ขณะนั้นกำลังเข้ามาในโลก” (ยอห์น 1:9) พระเยซูเองตรัสในยอห์น 8:12 “เราเป็นความสว่างของโลก”

ถ้าพระเยซูเป็นความสว่างของโลก ทำไมพระองค์จึงตรัสในมัทธิว 5:14 ว่า “ท่านทั้งหลายเป็นความสว่างของโลก”? เราทุกคนไม่สามารถเป็นความสว่างของโลกได้ เพราะยอห์นrพูดถึงยอห์นผู้ให้บัพติศมาไว้ชัดเจนว่า “ท่านไม่ใช่ความสว่างนั้น แต่ท่านมาเพื่อเป็นพยานให้แก่ความสว่างนั้น” (ยอห์น 1:8)

พระเยซูทรงตอบคำถามเราในยอห์น 8:12 เมื่อพระองค์ตรัสว่า “ผู้ที่ตามเรามาจะไม่เดินในความมืด แต่จะมีความสว่างแห่งชีวิต“ สาวกของพระเยซูมีความสว่างในตนเอง เพราะพวกเขาอยู่ในพระคริสต์ผู้ทรงเป็น “ความสว่าง” ของโลก คุณเป็นความสว่างของโลกเพราะพระคริสต์อยู่ในคุณ และพระองค์ทรงเป็นความสว่าง

เรื่องน่าเศร้าในความจริงนี้คือที่สาวกของพระเยซูต้องเป็นความสว่างของ โลกเพราะโลกนี้อยู่ในความมืด แล้วบางคนจะก้าวออกจากความมืดไปสู่ “ความสว่างในชีวิต” ได้อย่างไร? พระเยซูทรงเรียกคุณและผมให้มาวางใจในพระองค์ เพราะพระองค์ได้ทรงยอมตายเพราะบาปของเราแล้วตามที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์ ทรงถูกฝังไว้ และทรงคืนพระชนม์ในวันที่สามตามที่พระคัมภีร์บันทึกไว้ทุกประการ มีพยานรู้เห็นมากมาย เมื่อคุณมามีความเชื่อและวางใจในพระเยซู ในการสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนเพื่อคุณ พระองค์ทรงสัญญาประทานชีวิตนิรันดร์ในพระองค์ให้คุณ แล้วคุณเองจะมีความสว่างแห่งชีวิต ผู้ติดตามพระเยซูต่างดำเนินอยู่ในพระองค์ และเมื่อดำเนินอยู่ในพระองค์ เราก็คือความสว่างของโลกนี้

คำพูด หรือ การกระทำ?

ในมัทธิว 5:13-16 บอกว่าเราเป็นเกลือและความสว่าง พระเยซูกำลังบอกว่าคำพูดของเราเป็นเกลือและความสว่าง หรือการกระทำของเรา? ไม่ทั้งสองอย่าง ยิ่งได้ศึกษาพระวจนะตอนนี้มากเท่าไร ยิ่งทำให้สรุปได้ว่าพระเยซูไม่ได้ตรัสชัดว่าเป็นคำพูดหรือการกระทำ เช่นเดียวกับคำสอนในคำเทศนาบนภูเขา พระองค์ทรงอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงภายในที่นำมาร่องก่อนแรงจูงใจ ทั้งคำพูดและการกระทำ

เราที่เป็นคริสเตียน ฟังถ้อยคำนี้ให้ดีๆนะครับ: “คุณ “เป็น” เกลือของโลก … คุณ “เป็น” ความสว่างของโลก” ไม่ใช่สิ่งที่คุณพูด ไม่ใช่สิ่งที่คุณทำ แต่เป็นคุณที่อยู่ในพระคริสต์ เมื่อพระเยซูตรัสว่า “จงส่องสว่างแก่คนทั้งปวง เพื่อว่าเมื่อเขาได้เห็นความดีที่ท่านทำ” พระองค์ไม่ได้หมายถึงว่าเราควรทำงานของเราให้เด่นชัดต่อหน้าผู้คน เพราะในคำเทศนาเดียวกันนี้ในมัทธิว 6:14 พระองค์ตรัสว่า “จงระวัง อย่ากระทำศาสนกิจเพื่ออวดคนอื่น…ทานของท่านจะต้องเป็นทานลับ” ไม่ ใช่สิ่งที่คุณทำ แต่ที่คุณเป็นในพระเยซูคริสต์จะจุดประกายในทุกสิ่งที่คุณทำ เมื่อคนเห็นการทำดีของคุณพวกเขาจะสรรเสริญพระบิดาที่ในสวรรค์

สังเกตุดูลัทธิต่างๆและศาสนาที่มนุษย์ตั้งขึ้นจะเป็นไปตามหลักปรัชญาที่ ตรงข้ามกับคำสอนของพระเยซูสิ้นเชิง ศาสนาอื่นจะสอนให้เราทำทานให้ผู้อื่นเห็นเพื่อยกย่องศาสนานั้นๆ แต่ไม่อนุญาตให้สั่งสอนคำพยานแบบของพระเยซู หลักคำสอนของพระเยซู ให้เราทำทานเป็นการลับ แต่ให้สำแดงถึงคำพยานของพระองค์ ตัวอย่างของพระองค์มีหลักปรัชญาที่น่าทึ่ง เพราะเมื่อใดก็ตามที่พระเยซูทรงทำการอัศจรรย์ที่ยิ่งใหญ่หรือสำแดงพระเมตตา พระองค์จะสั่งผู้คนไม่ให้นำไปพูดต่อ แต่ให้ไปประกาศอย่างกล้าหาญถึงแผ่นดินของพระเจ้า และเมื่อคนได้เห็นการกระทำดีนั้นเขาจะไปสรรเสริญพระบิดาแทน เมื่อเราทำตามคำสอนและแบบอย่างของพระเยซู เราทำงานของเราให้เห็นเด่นชัด และคำพยานของพระองค์สำแดงออกมา สิ่งนี้จะทำให้คนที่เห็นการกระทำดีของเราจะไปสรรเสริญพระบิดาแทน

เมื่อเราอยู่ในจุดที่เค็มที่สุด และจุดที่สว่างที่สุด ผู้คนก็จะมาไม่ข่มเหงเราเพราะพระคริสต์ ก็สรรเสริญพระบิดาของเรา ในยอห์น 10 มีการแตกแยกในท่ามกลางพวกยิวเพราะคำตรัสของพระเยซู (10:19) บางคนถึงกับคว้าก้อนหินขึ้นมาจะขว้างพระองค์ พระเยซูถามพวกเขา “เราได้สำแดงให้ท่านเห็นการดีหลายประการของพระบิดาของเรา ท่านทั้งหลายหยิบก้อนหินจะขว้างเราให้ตาย เพราะการกระทำข้อใดเล่า” แต่พวกเขาตอบว่า “เราจะขว้างท่านมิใช่เพราะการกระทำดี แต่เพราะการพูดหมิ่นประมาทพระเจ้า เพราะท่านเป็นเพียงมนุษย์แต่ตั้งตัวเป็นพระเจ้า” (10:32-33) คำถามไม่ใช่เพราะสิ่งที่พระเยซูทำหรือตรัส แต่เป็นพระองค์เอง ไม่ใช่คำพูดหรือการกระทำ สาระสำคัญคือพระลักษณะของพระองค์

การเปลี่ยนแปลงภายในและดำเนินไปอย่างต่อเนื่อง

เราค่อยๆเจาะลงไปสามระดับความเข้าใจในการเปรียบเทียบของเกลือและความ สว่างของพระเยซู แต่ก่อนที่จะแตะถึงความเข้าใจระดับที่สี่ที่ผมอยากจะเลี่ยง คือข้อเท็จจริงที่ยากจะเข้าใจว่าเราเป็นความสว่างของโลก ไม่เพียงเพราะพระคริสต์สถิตย์ภายในเราและเราอยู่ในพระองค์ แต่เพราะเราเปลี่ยนแปลงไปเป็นเหมือนพระฉายของพระองค์ผู้ทรงเป็นความสว่างของ โลก อ.เปาโลใน 2โครินธ์ 3:15-18 กล่าวว่า:

15 แต่ว่าตลอดมาถึงทุกวันนี้ ขณะใดที่เขาอ่านคำของโมเสส ผ้าคลุมนั้นก็ยังปิดบังใจของเขาไว้ 16 แต่เมื่อผู้ใดหันกลับมาหาองค์พระผู้เป็นเจ้า ผ้าคลุมนั้นก็จะเปิดออก 17 องค์พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็นพระวิญญาณ และพระวิญญาณขององค์พระผู้เป็นเจ้าทรงอยู่ที่ไหน เสรีภาพก็มีอยู่ที่นั่น 18 แต่เราทั้งหลายไม่มีผ้าคลุมหน้าแล้ว จึงแลดูพระสิริขององค์พระผู้เป็นเจ้า และตัวเราก็เปลี่ยนไปเป็นเหมือนพระฉายขององค์พระผู้เป็นเจ้า คือมีศักดิ์ศรีเป็นลำดับขึ้นไป เช่นอย่างศักดิ์ศรีที่มาจากองค์พระผู้เป็นเจ้าซึ่งเป็นพระวิญญาณ

มีม่านกั้นอยู่ระหว่างพระวจนะของพระเจ้าและความคิดของผม เช่นเดียวกับที่ผมยังไม่อาจรับความจริงนี้ใน 2โครินธ์ 3:14 ได้ แต่เมื่อได้เข้าเฝ้าพระเจ้า ม่านนั้นก็ถูกเปิดออก ทำให้สามารถเจาะลึกลงไปในพระวจนะ ทำให้พระวจนะตอนนี้ไม่ถูกบดบังอีกต่อไป แต่กระจ่างชัดเจนเหมือนส่องกระจกเงา ผมไม่เพียงแต่เห็นในสิ่งที่คาดไว้ แต่เห็นถึงพระสิริของพระเจ้าด้วย มันทำให้มองเข้าไปในพระสิริและสะท้อนให้เห็นใบหน้าตนเองอย่างที่ไม่มีสิ่งใด บดบัง เพราะพระวิญญาณของพระเจ้าสถิตอยู่ในผม ทำให้ใบหน้าของผมกระจ่างด้วยพระสิริเหมือนใบหน้าของโมเสส (2โครินธ์ 3:7-8) ยิ่งผมมองลึกลงไปในพระวจนะมากเท่าใด ยิ่งทำให้ตระหนักว่ามีการเปลี่ยนแปลงลึกลงไปภายในอย่างต่อเนื่องไป จนกว่าพระคริสต์จะเปลี่ยนแปลงผมอย่างเต็มที่ และผมจะเป็นเหมือนพระองค์ เพราะผมได้เห็นพระองค์อย่างที่พระองค์เป็น

อ.เปาโลกล่าวต่อไปในบทที่ 4:

3 แต่ถ้ามีม่านบังข่าวประเสริฐของเราไว้จากใคร ก็จากคนเหล่านั้นที่กำลังจะพินาศ 4 ส่วนคนที่ไม่เชื่อนั้น พระของยุคนี้ได้กระทำใจของเขาให้มืดไป เพื่อไม่ให้เขาได้เห็นความสว่างของข่าวประเสริฐ เรื่องพระสิริของพระคริสต์ผู้เป็นพระฉายของพระเจ้า 5 เราไม่ได้ประกาศตัวเราเอง แต่ได้ประกาศพระเยซูคริสต์ว่าทรงเป็นองค์พระผู้เป็นเจ้า และประกาศตัวเราเองเป็นทาสของท่านทั้งหลายเพราะเห็นแก่พระเยซู 6 เพราะว่าพระเจ้าองค์นั้นผู้ได้ตรัสสั่งให้ความสว่างออกมาจากความมืด ได้ทรงส่องสว่างเข้ามาในจิตใจของเรา เพื่อให้เรามีความสว่างแห่งความรู้ถึงพระสิริของพระเจ้า ปรากฏในพระพักตร์ของพระคริสต์ 7 แต่ว่าเรามีของมีค่านี้อยู่ในภาชนะดิน เพื่อให้เห็นว่า ฤทธิ์เดชอันเลิศนั้นเป็นของพระเจ้า ไม่ได้มาจากตัวเราเอง

ความเข้าใจเรื่องเกลือและความสว่างของพระเยซูระดับที่สี่ ไม่ได้มุ่งไปที่การงานหรือคำพูด แต่เป็นคุณลักษณะที่ได้รับการเปลี่ยนแปลงมากขึ้นและมากขึ้น จากการสะท้อนพระฉายของพระเยซูคริสต์ ใจของเราจะบรรจุความสว่างแห่งความรู้ในพระสิริของพระเจ้ามากขึ้นและมากขึ้น ใบหน้าเราจะสะท้อนความสว่างของพระเยซูคริสต์มากขึ้นและมากขึ้น และแม้ขุมทรัพย์นั้นจะเหมือนอยู่ในภาชนะดิน แต่เมื่อโลกมองเห็น พวกเขาจะสรรเสริญพระบิดาผู้สถิตในสวรรค์ พวกเขาจะเห็นได้ถึงฤทธิอำนาจอันสุดยอดของพระเจ้า และไม่ใช่ของเราเอง

ไม่มีที่ว่างสำหรับความหน้าซื่อใจคด

พระเยซูทรงมีความสัตย์ซื่ออย่างสมบูรณ์ ทุกสิ่งที่พระองค์ตรัส และทุกสิ่งที่พระองค์ทำล้นไหลออกมาจากพระลักษณะของพระองค์ในฐานะพระบุตรของ พระเจ้า นี่คือสิ่งที่พระองค์เป็น – ความสว่างของโลก – และเป็นเหตุทำให้พระองค์ทรงพระพิโรธต่อความหน้าซื่อใจคดของผู้คนรอบด้าน – จึงเป็นเรื่องสำคัญสำหรับผู้เชื่อที่จะไปได้ไกลกว่าความหมายของสิ่งที่ พระองค์นำมาใช้เปรียบเทียบ เริ่มจากการกระทำภายนอกที่ชอบธรรม มากกว่าการเปลี่ยนแปลงภายใน

นิโคเดมัสเป็นในแบบของคนที่ทำงานแต่ไม่กล้าเอ่ยพระนามพระเยซู คนจำเขาได้ว่าเป็น “ผู้มาหาพระเยซูในเวลากลางคืน” หรือ “โยเซฟแห่งอริมาเธีย สาวกลับๆของพระเยซูเพราะกลัวพวกยิว” (ยอห์น 19:38-39) พวกเขามาช่วยนำพระศพพระเยซูไปฝังไว้ เป็นพวกทำการดีแต่เป็นการลับ – ไม่ใช่เพราะถ่อมใจแต่เป็นเพราะความขลาด นี่เป็นตะเกียงที่จุดไว้พร้อมกับมีฝาเหล็กครอบไว้ และไม่แค่นิโคเดมัสและโยเซฟเท่านั้นที่ภายนอกทำอย่าง เบื้องหลังทำอีกอย่าง ยอห์นยังตั้งข้อสังเกตในวันที่พระเยซูเสด็จสู่เยรูซาเล็มอย่างผู้มีชัย (ยอห์น 12:42-43):

42 อย่างไรก็ดีแม้ในพวกเจ้าหน้าที่เองก็มีหลายคนศรัทธาในพระองค์ แต่เขาไม่ยอมรับพระองค์อย่างเปิดเผยเพราะกลัวพวกฟาริสี เขากลัวว่าจะถูกอเปหิออกจากธรรมศาลา 43 เพราะว่าเขารักการสรรเสริญของมนุษย์ มากกว่าการสรรเสริญของพระเจ้า

ผมตระหนักดีว่ายังมีพวกหน้าซื่อใจคดหลายคนในทุกวันนี้ (เหมือนในสมัยพระเยซู) พวกเขากล้ายอมรับในพระองค์ แต่การกระทำกลับเหมือนปฏิเสธพระองค์ อย่างไรก็ตาม ความหน้าซื่อใจคดเช่นนี้ ไม่ได้เป็นสิ่งที่พระองค์เน้นเมื่อพูดถึงเกลือและความสว่าง

นิค และ โจ ของยุคนี้

ในสมัยของเรา คนอเมริกันมักจะมองเรื่องหน้าซื่อใจคดของนิโคเดมัสและโยเซฟไม่ออก เราพบว่ามันง่ายกว่าที่จะวุ่นกับเรื่องของตนเอง แทนที่จะไปทำหน้าที่ตัวแทนให้ประเทศ เราพูดว่า “ถ้าฉันทำการงานของฉันอย่างดีเลิศ พระเจ้าทรงทราบดีว่านี่เป็นไปเพื่อพระสิริของพระองค์” แน่นอนครับ แต่คุณไม่ได้เป็นทูตของพระคริสต์ เป็นแค่สายลับ “แต่ฉันไม่มีของประทานในการประกาศ” ถูกครับ แต่อย่างน้อยคุณก็รู้เรื่องข่าวประเสริฐ มันยากแค่ไหนที่จะกล่าวว่า “พระเยซูทรงตายแทนความบาปของฉันตามที่มีอยู่ในพระคัมภีร์”? “ครับ แต่อาจทำให้ผมตกงาน” ในอีกมุม มันคงจะยากถ้าคนอเมริกันสักคนต้องตกงานเพราะพูดว่า “ผมเชื่อว่าพระเยซูเป็นพระบุตรของพระเจ้าที่ฟื้นขึ้นมาจากความตาย” ถ้าคุณต้องตกงานเพราะคำพยานของคุณ คุณก็มีเหตุไปฟ้องร้องได้ ที่เราหมายความจริงๆเมื่อพูดว่า “ผมไม่ได้รับอนุญาตให้พูดเรื่องพระกิตติคุณในที่ทำงาน” เพราะกลัวว่าอาจไม่ได้เลื่อนขั้น – หรือที่จริง เรากลัวการถูกข่มเหงเหตุเพราะพระนามของพระเยซู6

สตรีคริสเตียนท่านหนึ่งกระตือรือร้นเมื่อได้มาร่วมกลุ่มอธิษฐานเล็กๆของ เธอ เธอมีอาชีพทำงานดูแลสุขภาพในโรงเรียนรัฐ นักเรียนคนหนึ่งของเธอเป็นมะเร็งร้าย เป็นเด็กที่ต้องการความสว่างของโลกนี้เป็นอย่างยิ่ง แต่ในฐานะลูกจ้างรัฐและถูกห้ามไม่ให้ประกาศ เราอธิษฐานเผื่อเธอและให้คำแนะนำจากพระคัมภีร์ บอกว่าถ้าพวกเขาสั่งให้หยุดพูดในนามของพระเยซู จงพูดต่อ – ความกล้าเป็นพยานของเธอทำให้แฮรรี่ลูกศิษย์ได้มาวางใจในพระเยซู แต่เรื่องไม่ได้จบแค่นั้น เมื่อใดที่แพตตี้หนุนใจแฮรรี่ด้วยข้อพระคำ เพื่อนร่วมงานอีกสองคนของแพตตี้จะได้ยินด้วย แฮรรี่เองก็เริ่มเป็นพยานด้วยใจกล้าหาญกับเพื่อนๆ แถมครั้งหนึ่งได้แบ่งปันเรื่องความเชื่อของเขาในที่ประชุมด้วย แพตตี้ได้รับเชิญไปที่บ้านของแฮร์รี่เพื่อจะไปพบพ่อแม่ที่ไม่ได้เป็น คริสเตียน ทุกวันนี้ แพตตี้ยังไม่โดนไล่ออก ลดตำแหน่ง หรือถูกว่ากล่าวใดๆ แต่ถ้าโดนล่ะ? การได้ไปสวรรค์ของแฮร์รี่มันคุ้มเสียยิ่งกว่าคุ้ม ใช่มั้ยครับ?

แพตตี้เป็นความสว่างของโลก ไม่ใช่เพราะเธอทำสิ่งที่มีเมตตา แต่เพราะคำพยานที่สัตย์ซื่อของเธอ เพราะพระเยซูคริสต์ ผู้เป็นความสว่างของโลกที่อยู่ในเราที่ทำให้เป็นทูตของพระองค์ และเราไม่เคยปิดบังเอาไว้เลย


1 163 ลิขสิทธิ์ของ- Copyright 2003 by Community Bible Chapel, 418 E. Main Street, Richardson, TX 75081 เป็นต้นฉบับที่ปรับใหม่ของบทเรียนต่อเนื่องของพระกิตติคุณมัทธิวบทที่ 19 จัดเตรียมโดย คอลิน แมคดูกัลป์ 29 มิถุนายน 2003

2 164 พระวจนะภาษาอังกฤษที่นำมาใช้มาจาก Holy Bible, New King James Version. Copyright 1982 by Thomas Nelson, Inc., Nashville, Tennessee. All rights reserved.

3 165 เปโตรชี้ให้เห็นเมื่อท่านกล่าวถึงการข่มเหงในคำเทศนาบนภูเขาใน 1เปโตร 3:13-14 สังเกตดูที่ท่านนำพระวจนะในตอนนี้มาใช้ (3:15)

4 166 David Van Biema, “Keeping the Faith Without Preaching It,” Time 161.26 (June 30, 2003), p. 40.

5 167 ข้อเท็จจริงที่นักวิชาการพากันค้นคว้าเรื่องเกลือสูญเสียความเค็มอย่างไร นอร์แมน ฮิลเยอร์ พูดถูกเมื่อตระหนักว่า “ความเป็นโซเดียมคลอไรด์ที่เป็นองค์ประกอบเคมีในเกลือ ทำให้เกิดคำถามว่าเกลือจะสูญเสียความเค็มได้อย่างไร แล้วก็เล่าเรื่องประกอบว่าเกลือสูญเสียความเค็มจากคัมภีร์ของปาลสไตน์ “เกลือ” in New International Dictionary of New Testament Theology, Vol. 3 (Grand Rapids, Michigan: Zondervan, 1986), p. 446.

6 168 บางคนรู้สึกว่าการประกาศข่าวประเสริฐอย่างกล้าหาญในท่ามกลางสาธารณะเป็นการ กระทำที่ไม่ฉลาดนัก และไม่น่าจะเกิดผล แต่อย่าลืมว่าเรามียุทธภัณฑ์ทั้งชุดให้ผู้เชื่อสวมใส่ (เอเฟซัส 6:10-17) โดยเฉพาะการอธิษฐานเพื่อจะสู้ในสนามรบฝ่ายวิญญาณได้ (เอเฟซัส 6:19) อธิษฐานให้มีความกล้าในการประกาศข่าวประเสริฐ (เอเฟซัส 6:19-20) อย่าลืมการเทศนาของ อ.เปาโลที่ทำให้ท่านไม่ก้าวหน้าในการงาน ตกจากตำแหน่งฟาริสีไปถูกจำคุก ท่านไม่ได้กังวลเรื่องความฉลาดหรือเรื่องเกิดผลมากกว่าใจที่กล้าหาญในการ ประกาศข่าวประเสริฐ!

Related Topics: Assurance, Cultural Issues

12. “บุคคลผู้ใดมีใจบริสุทธิ์ ผู้นั้นเป็นสุข” (มัทธิว 5:8)

Related Media

คำนำ1

คณะกรรมการรับนักเรียนกำลังสัมภาษณ์ผู้สมัครเข้ามาเรียนในวิทยาลัย คริสเตียน พวกเขาถามผู้สมัครทุกคนด้วยชุดคำถามเดียวกัน และคำตอบก็ออกมาคล้ายๆกัน

“คุณจะทำอะไรถ้าได้รับการตอบรับให้เข้าเรียนที่นี่?” – “ผมก็พยายามจะตั้งใจเรียนให้ดีที่สุด” – “แล้วคุณจะทำอะไรหลังจากเรียนจบได้ปริญญาแล้ว?” – “ผมก็จะหางานดีๆทำ” – แล้วหลังจากนั้นล่ะครับ?” – “ผมก็จะหารายได้ให้มากพอที่จะมีชีวิตที่มีความสุข” – “แล้วหลังจากนั้นล่ะครับ?” – “ก็มีความสุขกับชีวิตหลังเกษียน” – “แล้วหลังจากนั้นล่ะครับ?” ไม่มีคำตอบครับ และการสัมภาษณ์ก็จบลง

สิ่งนี้ทำให้เราเห็นระดับสติปัญญาของนักศึกษาในทุกวันนี้ และเป็นสิ่งเดียวกับที่คนส่วนใหญ่ในโลกเป็น – มีการศึกษาที่ดี – ได้งานที่ดีทำ – มีชีวิตที่สุขสบายจนแก่เฒ่า – แต่ไม่เคยคิดว่าหลังจากนั้นจะเกิดอะไรขึ้น แนวคิดระยะยาวของพวกเขาจบลงที่เงินออมหลังเกษียน และเงินชดเชยเมื่อครบอายุงาน

ลืมเรื่องสัมภาษณ์นักศึกษาและเป้าหมายชีวิตพวกเขาไปก่อน ลืมเรื่องคนที่เราเคยพบ คนที่มีชีวิตเพื่อตอนนี้และที่นี่เท่านั้น “…พระของเขาคือกระเพาะ เขายกความที่น่าอับอายของเขาขึ้นมาโอ้อวด เขาสนใจในวัตถุทางโลก” (ฟีลิปปี 3:19)2

ให้มาคิดถึงตัวเราเอง เราที่อ้างว่าเชื่อในพระเยซูคริสต์และอุทิศชีวิตเพื่อพระเจ้า เป้าหมายและแผนชีวิตระยะยาวของเราต่างจากนักศึกษาพวกนั้นหรือเปล่า? อะไรคือสิ่งที่เราปรารถนาที่สุด? เรามีชีวิตอยู่เพื่ออะไร? นี่เป็นคำถามที่สำคัญที่สุดในชีวิตคริสเตียน หรือชีวิตใครก็ตาม และนี่คือคำถามของคำเทศนาบนภูเขาที่เรากำลังจะเรียนในมัทธิว 5:8 ที่มีคำตอบให้อย่างชัดเจนที่สุด

“บุคคลผู้ใดมีใจบริสุทธิ์ ผู้นั้นเป็นสุข เพราะว่าเขาจะได้เห็นพระเจ้า” (มัท ธิว 5:8) สิ่งนี้ครับ คือสิ่งที่เป็นเป้าหมายของชีวิต คริสเตียน สิ่งที่เรามีชีวิตอยู่เพื่อ – ให้เรามีชีวิตในแบบที่เราจะได้เห็นพระเจ้า ถ้าเราได้เห็นพระเจ้า ก็เท่ากับเรากำลังเปิดขุมทรัพย์มหาศาลแห่งพระพรทุกประการ ไม่เพียงแต่ชีวิตนิรันดร์ แต่สำหรับชีวิตที่นี่และเวลานี้ด้วย และกุญแจที่ไขไปสู่ขุมทรัพย์นี้คือใจที่บริสุทธิ์!

นี่เป็นคำสอนที่อยู่ตรงใจกลางและสำคัญที่สุดในคำเทศนาบนภูเขาในมัทธิวบท ที่ห้า คุณไม่อาจรู้สึกขัดสนฝ่ายวิญญาณโดยที่ใจไม่บริสุทธิ์ คุณไม่อาจโศกเศร้าต่อสิ่งที่ทำให้พระเจ้าเสียพระทัยโดยที่ใจไม่บริสุทธิ์ คุณไม่อาจมีใจอ่อนโยน คุณไม่อาจหิวกระหายความชอบธรรม ไม่อาจมีใจกรุณา ไม่อาจเป็นผู้สร้างสันติ หรือพร้อมจะรับการติเตียนข่มเหงเพื่อพระนามของพระคริสต์ได้ถ้าไม่มีใจที่ บริสุทธิ์ ที่จริง นี่เป็นหัวใจหลักของชีวิตคริสเตียนที่เราพบได้ในพระคัมภีร์ทั้งเล่ม หัวใจของเรื่องคือเรื่องของหัวใจครับ

อะไรคือมีใจบริสุทธิ์?

  1. ดำเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของพระเจ้า ดำเนินชีวิตอย่างที่พระเจ้าพอพระทัย
  2. ดำเนินชีวิตตามพระประสงค์ของพระเจ้า และทุ่มเททั้งใจให้พระองค์ผู้เดียว

มีใจที่บริสุทธิ์ประการแรกคือดำเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่นำมา ซึ่งความบริสุทธิ์ด้านศีลธรรม คำว่า “บริสุทธิ์” ที่นำมาใช้เริ่มแรกในพระคัมภีร์มีความหมายแง่เดียวกับ “สะอาด” ที่ตรงข้ามกับ “ไม่สะอาด” – สัตว์ที่สะอาดหรือไม่สะอาด อาหารที่สะอาดหรือไม่สะอาด สถานะของคนสะอาดหรือไม่สะอาด คุณคิดว่าอะไรคือพื้นฐานความต่างของสิ่งของ (หรือคน) ที่ “สะอาด” หรือ “ไม่สะอาด”? เป็นการตัดสินตามสิทธิอำนาจของพระเจ้า ในบางกรณี เราอาจเห็นตรรกะของเหตุผลนั้น ตัวอย่างเช่น อีกาไม่สะอาดเพราะมันกินเนื้อที่เน่าเสีย คนเป็นโรคเรื้อนไม่สะอาดเพราะเป็นโรคติดต่อถึงคนอื่นได้ แต่ว่าอาจไม่สมเหตุผลเสมอไปที่ทำไมเนื้อของสัตว์บางอย่างถูกมองว่าสะอาด และเนื้อบางอย่างไม่สะอาด ถ้ามนุษย์ถูกสั่งให้มีลูกดกทวีคูณ และถ้าเรื่องเพศเป็นของขวัญจากพระเจ้า เราไม่รู้ว่าอสูจิของผู้ชายทำไมถึงทำให้คนๆนั้นไม่สะอาด ถ้าการให้กำเนิดบุตรเป็นเรื่องของความปิติยินดี แต่เราไม่รู้ว่าทำไมทำให้ผู้เป็นมารดาไม่สะอาด และถ้ามีคนบอกว่าทางการแพทย์แล้วกินหมูไม่ดี กรมปศุสัตว์คงจะสั่งห้ามเลี้ยงหมูไปนานแล้ว และองค์กรอาหารและยาคงสั่งห้ามขายเนื้อหมู

นี่เป็นการตัดสินของพระเจ้าในสิ่งที่ครั้งหนึ่งถูกมองว่าไม่สะอาด แต่พระเจ้าสามารถประกาศว่าสะอาดได้ในอีกเวลา อย่างที่เปโตรเห็นในภวังค์ (กิจการ 10) ที่พระเจ้าต้องการให้เปโตรทานสิ่งที่เคยมองว่าไม่สะอาด “…ซึ่งพระเจ้าได้ทรงชำระแล้วอย่าว่าเป็นของต้องห้าม” (กิจการ 10:15) อ.เปาโลเคยประกาศว่า “ข้าพเจ้า รู้และปลงใจเชื่อเป็นแน่ในองค์พระเยซูเจ้าว่า ไม่มีสิ่งหนึ่งสิ่งใดที่เป็นมลทินในตัวเองเลย แต่ถ้าผู้ใดถือว่าสิ่งใดเป็นมลทินสิ่งนั้นก็เป็นมลทินสำหรับคนนั้น” (โรม 14:4).

ถ้าเป็นเช่นนี้ คุณคิดว่าทำไมพระเจ้าถึงแยกแยะว่าอะไร “สะอาด” และ “ไม่สะอาด” พระองค์มีพระประสงค์ใดในเรื่องนี้? พระเจ้าทรงพระประสงค์ให้คนของพระองค์รู้ว่าพระองค์ทรงเป็นพระเจ้าผู้ บริสุทธิ์ และปรารถนาให้คนของพระองค์ดำเนินชีวิตตามมาตรฐานที่ทรงกำหนดไว้

“…เพราะนี่จะเป็นหมายสำคัญระหว่างเรากับ เจ้า ตลอดชั่วชาติพันธุ์ของเจ้า เพื่อเจ้าจะได้รู้ว่าเราคือพระเจ้า ผู้ได้กระทำเจ้าให้บริสุทธิ์” (อพยพ 31:13ข)

“เราจะสำแดงความบริสุทธิ์ของเรา
ท่ามกลางผู้ที่อยู่ใกล้เรา
เขาจะถวายความยิ่งใหญ่แก่เรา
ต่อหน้าประชาชนทั้งปวง’ (เลวีนิติ 10:3)

และนี่คือสิ่งที่พระเจ้าย้ำแล้วย้ำอีกเมื่อตรัสว่า “จงชำระตัวไว้ให้บริสุทธิ์ เพราะเราบริสุทธิ์” (เลวีนิติ 11:44, 45)

และด้วยการแยกแยะให้เห็นชัดเจนระหว่างสะอาดและไม่สะอาด พระเจ้าต้องการให้คนของพระองค์รู้ว่าพระองค์คือพระเจ้า พระองค์เป็นผู้สร้างกฎเกณฑ์ และพวกเขาต้องดำเนินตามกฎเกณฑ์นี้ ‘มนุษย์จะบำรุงชีวิตด้วยอาหารสิ่งเดียวหามิได้ แต่บำรุงด้วยพระวจนะทุกคำ ซึ่งออกมาจากพระโอษฐ์ของพระเจ้า’ (มัท ธิว 4:4) กฎเกณฑ์ที่พระเจ้ากำหนดไว้ให้เรา ไม่ใช่หน้าที่เราที่จะเข้าใจทุกสิ่งที่พระเจ้าทำ แต่ให้เราเชื่อฟัง โมเสสขณะเมื่อกล่าวทบทวนพระบัญญัติ ได้กล่าวถ้อยคำที่สำคัญมาก:

“สิ่งลี้ลับทั้งปวงเป็นของพระเยโฮวาห์พระ เจ้า ของเราทั้งหลาย แต่สิ่งทรงสำแดงนั้นเป็นของเราทั้งหลายและของ ลูกหลานของเราเป็นนิตย์ เพื่อเราจะกระทำตามถ้อยคำทั้งสิ้นของกฎหมายนี้” (เฉลยธรรมบัญญัติ 29:29)

จะเห็นได้ว่าตั้งแต่เริ่มต้น มันไม่ใช่เป็นเรื่องของกฎเกณฑ์และบทบัญญัติที่เห็นได้จากภายนอก แต่เป็นทัศนคติของจิตใจที่มุ่งตรงต่อพระเจ้า ในธรรมบัญญัติโมเสสกล่าวว่า “เพราะฉะนั้นจงตัดใจ อย่าดื้อดึงอีกต่อไป” (เฉลยธรรมบัญญัติ 10:16) ซามูเอลถามซาอูลว่า:

“พระเจ้าทรงพอพระทัยในเครื่องเผาบูชาและ เครื่องสัตวบูชามาก เท่ากับการที่จะเชื่อฟังพระสุรเสียงของพระองค์หรือ ดูเถิด ที่จะเชื่อฟังก็ดีกว่าเครื่องสัตวบูชา และซึ่งจะสดับฟังก็ดีกว่าไขมันของบรรดาแกะผู้” (1ซามูเอล 15:22)

มันง่ายกว่าที่จะทำตามกฎเกณฑ์แต่ลืมเรื่องของจิตใจ เราระมัดระวังที่จะทำทุกสิ่งให้สะอาดตามที่คนอื่นมองเห็น แต่ลืมสิ่งที่พระเจ้าเท่านั้นที่มองเห็น ถ้ามือผมเปื้อนโคลน คงไม่มีใครอยากเช็คแฮนด์ด้วย ผมจึงต้องรีบล้างให้สะอาด ถ้าเช้านี้ผมใส่เสื้อสกปรกมา คุณจะมองแต่เสื้อของผมและไม่ได้ฟังสิ่งที่ผมพูด เราต้องมีบุคลิกที่ดีต่อหน้ามนุษย์ แต่เราลืมที่จะตรงไปตรงมาต่อหน้าพระเจ้า

นี่คือเหตุที่พระเยซูกล่าวตำหนิอย่างรุนแรงต่อพวกธรรมาจารย์และฟาริสี ที่คิดว่าตนเองบริสุทธิ์กว่าคนทั้งปวง พวกเขาระมัดระวังมากต่อรูปลักษณ์ภายนอกที่ต้องดูสะอาด แต่ไม่เคยสนใจในความสัมพันธ์กับพระเจ้า พระเยซูบอกกับพวกเขาว่า:

“25 “วิบัติแก่เจ้า พวกธรรมาจารย์และพวกฟาริสี คนหน้าซื่อใจคด ด้วยเจ้าขัดชำระถ้วยชามแต่ภายนอก ส่วนภายในถ้วยชามนั้นเต็มด้วยโจรกรรมและการมัวเมากิเลส 26 โอ พวกฟาริสีตาบอด จงชำระถ้วยชามภายในเสียก่อน เพื่อข้างนอกจะได้สะอาดด้วย 27 “วิบัติแก่เจ้า พวกธรรมาจารย์และพวกฟาริสี คนหน้าซื่อใจคด เพราะว่าเจ้าเป็นเหมือนอุโมงค์ฝังศพซึ่งฉาบด้วยปูนขาว ข้างนอกดูงดงาม แต่ข้างในเต็มไปด้วยกระดูกคนตาย และสารพัดโสโครก 28 เจ้าทั้งหลายก็เป็นอย่างนั้นแหละ ภายนอกแลดูเหมือนว่าเป็นคนชอบธรรม แต่ภายในเต็มไปด้วยความเท็จเทียมและอธรรม” (มัทธิว 23:25-28)

“โอ ชาติงูร้าย เจ้าเป็นคนชั่ว แล้วจะพูดความดีได้อย่างไร ด้วยว่าปากนั้น พูดจากสิ่งที่มาจากใจ” (มัทธิว 12:34)

พระเยซูทรงนำพระวจนะจากอิสยาห์

“8 ประชาชนนี้ให้เกียรติเราแต่ปาก
ใจของเขาห่างไกลจากเรา
9 เขานมัสการเราโดยหาประโยชน์มิได้
ด้วยเอาบทบัญญัติของมนุษย์มาตู่ว่า เป็นพระดำรัสสอนของพระเจ้า” (มัทธิว 15:8-9)

พระองค์ทรงอธิบายให้พวกสาวกฟัง

“19 ความคิดชั่วร้าย การฆ่าคน การผิดผัวผิดเมีย การล่วงประเวณี การลักขโมย การเป็นพยานเท็จ การใส่ร้าย ก็ออกมาจากใจ 20 สิ่งเหล่านี้แหละที่ทำให้มนุษย์เป็นมลทิน แต่ซึ่งจะรับประทานอาหารโดยไม่ล้างมือก่อน ไม่ทำให้มนุษย์เป็นมลทิน“ (มัทธิว 15:19-20)

นี่คือจิตใจที่ไม่สะอาด

จะมีใจที่บริสุทธิ์แปลว่าต้องมีใจที่ยอมอุทิศตนดำเนินชีวิตอย่างที่พระเจ้าพอพระทัย เพราะ “…พระเจ้าทรงพิจารณาจิตใจทั้งปวง และทรงเข้าใจในแผนงานและความคิดทั้งปวง” (1พงศาวดาร 28:9) และดาวิดจึงมีคำอธิษฐานว่า:

23 ข้าแต่พระเจ้า ขอทรงค้นดูข้าพระองค์และทรงทราบจิตใจของข้าพระองค์
ขอทรงลองข้าพระองค์และทรงทราบความคิดของข้าพระองค์
24 และทอดพระเนตรว่ามีทางชั่วใดๆ ในข้าพระองค์หรือไม่
และขอทรงนำข้าพระองค์ไปในมรรคานิรันดร์ (สดุดี 139:23-24)

ดังนั้นใจที่บริสุทธิ์คือมีชีวิตตามกฎเกณฑ์ของพระเจ้า ดำเนินชีวิตอย่างที่พระเจ้าพอพระทัย มีกฎธรรมชาติบางอย่างที่มนุษย์ไม่อาจฝ่าฝืนโดยไม่ได้รับผลของมัน แต่พระเจ้าทรงทำได้ ตัวอย่างเช่น คุณไม่อาจเอามือไปใส่ในไฟโดยไม่ใหม้ นี่เป็นกฎของอุณหพลศาสตร์ รวมทั้งจะต้องใช้อาหารจำนวนมากพอที่จะเลี้ยงคนห้าพัน แต่พระเจ้าทรงมีอำนาจเหนือกฎเหล่านี้ พระองค์สามารถให้คนเดินเข้าไปในไฟโดยที่ไม่เป็นอันตรายเลยแม้แต่เสื้อผ้า พระองค์สามารถเลี้ยงคนห้าพันด้วยขนมปังห้าก้อนและปลาสองตัว เราเรียกสิ่งนี้ว่าอัศจรรย์ คำว่า “อัศจรรย์” หมายถึงบางสิ่งที่ไม่อาจอธิบายได้ตามกฎธรรมชาติ

แล้วยังมีกฎด้านศีลธรรมที่มนุษย์ละเมิดได้ แต่พระเจ้าไม่อาจทำได้ รู้หรือไม่มีบางสิ่งที่ผมทำได้ แต่พระเจ้าทรงทำไม่ได้? ผมพูดโกหกได้ ผมล่วงประเวณีได้ ผมโกงได้ ขโมยก็ได้ แต่พระเจ้าไม่อาจละเมิดกฎแห่งศีลธรรม หรือมองข้ามไปเมื่อมีการละเมิดเกิดขึ้น เราระมัดระวังมากที่จะไม่ฝ่าฝืนกฎธรรมชาติเพราะมันส่งผลในทันที แต่หลายครั้งเรามองข้ามกฎแห่งศีลธรรมที่ส่งผลร้ายแรงกว่า มีใจที่บริสุทธิ์หมายถึงรักษากฎแห่งศีลธรรมของพระเจ้า

ดังนั้น ประการแรก มีใจบริสุทธิ์หมายถึงดำเนินชีวิตตามกฎเกณฑ์ของพระเจ้า ดำเนินชีวิตเพื่อให้พระเจ้าพอพระทัย ประการที่สอง มีใจบริสุทธิ์หมายถึงมีชีวิตเพื่อพระประสงค์ของพระเจ้าเท่านั้น มีใจที่อุทิศทั้งหมดให้พระเจ้า แปลว่ามีใจเดียวที่ยอมมอบทั้งหมดให้พระเจ้า ทำทุกสิ่งในชีวิตเพื่อจุดมุ่งหมายเดียวคือถวายพระสิริแด่พระเจ้า (1โครินธ์ 10:31) “บริสุทธิ์” ในแง่นี้หมายถึงไม่มีสิ่งใดเจือปน

ผมขอถาม ผิดประเวณีคืออะไร? เมื่อพูดถึงผิดประเวณี เราคิดในแง่ทางกาย คือมีความสัมพันธ์ทางเพศนอกสมรส พระคัมภีร์พูดถึงผิดประเวณีในแบบนี้ และแน่นอนสั่งห้าม แต่พระคัมภีร์ยังพูดถึงผิดประเวณีฝ่ายวิญญาณมากกว่าฝ่ายกาย มีหนังสือทั้งเล่มสำหรับเรื่องผิดประเวณีฝ่ายวิญญาณในท่ามกลางคนของพระเจ้า หนังสือโฮเชยา และมีหลายบทในพระคัมภีร์เดิมที่พูดถึงคนของพระเจ้าที่ทำผิดประเวณีฝ่าย วิญญาณ ตัวอย่างเช่นในเอเสเคียล 16 และ 22

ในพระคัมภีร์ใหม่ พระเยซูตรัสว่าเราไม่อาจนมัสการพระเจ้าและเงินทองพร้อมกันได้ เมื่อเราทุ่มเทใจให้กับสิ่งอื่นๆนอกเหนือจากสิ่งของพระเจ้า เราก็กำลังทำผิดประเวณีฝ่ายวิญญาณ อย่างที่ยากอบพูด:

คนทุจริตเอ๋ย ไม่รู้หรือว่า การเป็นมิตรกับโลกนั้น คือการเป็นศัตรูกับพระเจ้า เหตุฉะนั้น ผู้ใดใคร่เป็นมิตรกับโลก ผู้นั้นก็ตั้งตัวเป็นศัตรูกับพระเจ้า…ท่านทั้งหลายจงเข้าใกล้พระเจ้า และพระองค์จะเสด็จมาใกล้ท่าน คนบาปทั้งหลายเอ๋ย จงชำระมือให้สะอาด และคนสองใจ จงชำระใจของตนให้บริสุทธิ์ (ยากอบ 4:4, 8)

ทั้งในพระคัมภีร์เก่าและใหม่กล่าวว่า

37 พระเยซูทรงตอบเขาว่า “จงรักพระองค์ผู้เป็นพระเจ้าของเจ้าด้วยสุดใจสุดจิตของเจ้า และด้วยสิ้นสุดความคิดของเจ้า 38 นั่นแหละเป็นพระบัญญัติข้อใหญ่ และข้อต้น (มัทธิว 22:37-38 และดู เฉลยธรรมบัญญัติ 6:5 ด้วย)

นี่คือใจที่บริสุทธิ์ฝ่ายวิญญาณ

แล้วเราจะมีใจที่บริสุทธิ์ได้อย่างไร?

คำถามคือเราจะมีใจที่บริสุทธิ์ได้อย่างไร ใจที่สะอาดในด้านศีลธรรม? ใจที่ทุ่มเททั้งสิ้นให้พระเจ้า?

แรกสุด เราต้องตระหนักว่าเรา ตัวตนของเรา ไม่อาจมีใจที่สะอาดในด้านศีลธรรมและทุ่มเททั้งหมดให้พระเจ้าได้ อย่างที่พระคัมภีร์กล่าวย้ำแล้วย้ำอีก “พระเจ้าทรงเห็นว่า…เค้าความคิดในใจของเขา (มนุษย์) ล้วนเป็นเรื่อง ร้ายเสมอไป” (ปฐมกาล 6:5) และตามที่ผู้เผยพระวจนะเยเรมีย์กล่าว “จิตใจก็เป็นตัวล่อลวงเหนือกว่าสิ่งใดทั้งหมด มันเสื่อมทรามอย่างร้ายทีเดียว” (เยเรมีย์ 17:9) และ

“คนเอธิโอเปียเปลี่ยนวรรณของตนเองได้หรือ หรือเสือดาวเปลี่ยนลายของมัน ถ้าได้แล้วเจ้าทั้งหลายผู้ที่เคยต่อการกระทำความชั่ว จะมากระทำความดีก็ได้” (เยเรมีย์ 13:23)

ในหนังสืออธิบายคำเทศนาบนภูเขา ของเคนท์ ฮิวจ์ ที่ยกตัวอย่างจากนักประพันธ์รัสเซียสมัยศตวรรษที่ 19 อีวาน ทูร์เกเนฟ:

“ผมไม่รู้ว่าจิตใจของคนชั่วเป็นอย่างไร แต่ผมรู้ว่าจิตใจของคนดีเป็นอย่างไร และมันแย่”3

เราสามารถมีใจที่บริสุทธิ์ได้

แม้เป็นไปไม่ได้ที่เราจะมีใจบริสุทธิ์ด้วยตัวของเรา เราสามารถมีใจที่บริสุทธิ์ด้วยพระคุณของพระเจ้า อะไรที่เป็นไปไม่ได้สำหรับมนุษย์ เป็นไปได้สำหรับพระเจ้า ใจที่บริสุทธิ์เป็นของขวัญจากพระเจ้าที่ได้รับเมื่อเราบังเกิดใหม่ สร้างขึ้นใหม่โดยพระวิญญาณในเรา

พระเจ้าสัญญาไว้ในพระคัมภีร์เดิมทางผู้เผยพระวจนะเยเรมีย์ “เราจะบรรจุพระธรรมไว้ในเขาทั้งหลาย และเราจะจารึกมันไว้บนดวงใจของเขาทั้งหลาย…” (เยเรมีย์ 31:33) และ “เราจะให้ใจเดียวและทางเดียวแก่เขา” (เยเรมีย์ 32:39) และสิ่งนี้สำเร็จแล้วในองค์พระเยซูคริสต์ ผู้สร้างเราขึ้นใหม่ด้วยหัวใจดวงใหม่ (2โครินธ์ 5:17)

มีวิธีที่เราสามารถรักษาความบริสุทธิ์ไว้ในใจเราได้ และหนึ่งในสิ่งแรกๆคือใช้เวลากับพระคำของพระเจ้า ผู้เขียนสดุดีกล่าวว่า “หนุ่มจะรักษาทางของตนให้บริสุทธิ์ได้อย่างไร โดยระแวดระวังตามพระวจนะของพระองค์” (สดุดี 119:9) และ “ข้าพระองค์ได้สะสมพระดำรัสของ พระองค์ไว้ในใจของข้าพระองค์ เพื่อข้าพระองค์จะไม่ทำบาปต่อพระองค์” (สดุดี 119:11)

ทางที่สองที่จะรักษาความบริสุทธิ์ของใจไว้คือการมีสามัคคีธรรมกับคนของพระเจ้า การมีส่วนรับผิดชอบซึ่งกันและกัน กษัตริย์ซาโลมอนกล่าวว่า:

9 สองคนดีกว่าคนเดียว
เพราะว่าเขาทั้งสองได้รับผลของงานดี
10 ด้วยว่าถ้าคนหนึ่งล้มลง
อีกคนหนึ่งจะได้พยุงเพื่อนของตนให้ลุกขึ้น
แต่วิบัติแก่คนนั้นที่อยู่คนเดียวเมื่อเขาล้มลง
และไม่มีผู้อื่นพยุงยกเขาให้ลุกขึ้น (ปัญญาจารย์ 4:9-10)

และนี่คือเหตุที่ผู้เขียนพระธรรมฮีบรูเตือนเราว่า “และขอให้เราพิจารณาดูว่าจะทำอย่างไร จึงจะปลุกใจซึ่งกันและกันให้มีความรักและทำความดี” (ฮีบรู 10:24)

ประการที่สาม เราสามารถฝึกฝนใจให้บริสุทธิ์ได้โดยทำการงานของพระเจ้า เมื่อเราเข้าไปมีส่วนร่วมรับใช้ และเมื่อพระเจ้าใช้ให้เราไปเป็นพระพรต่อผู้อื่น เราต่างก็หนุนใจกันขึ้นเพื่อทุ่มเทให้พระเจ้า และรักษาใจให้บริสุทธิ์ด้านศีลธรรม

ใจที่บริสุทธิ์เห็นได้จากวิถีชีวิตของเรา

เราจะรู้ได้อย่างไรว่าใครบางคนมีใจที่บริสุทธิ์? ใจที่บริสุทธิ์จะสำแดงให้เห็นในการดำเนินชีวิตของพวกเขา อย่างที่เปโตรกล่าว คนที่อุทิศทุ่มเทเพื่อพระเจ้า “เพื่อจะได้ไม่ดำเนินชีวิตที่ยังเหลืออยู่ในโลกตามใจปรารถนาของมนุษย์ แต่ตามพระประสงค์ของพระเจ้า” (1เปโตร 4:2)

และพระพรตามที่ทรงสัญญา

“บุคคลผู้ใดมีใจบริสุทธิ์ ผู้นั้นเป็นสุข เพราะว่าเขาจะได้เห็นพระเจ้า” ไม่ ต้องสงสัยนี่เป็นพระพรที่ครอบคลุมพระพรทั้งหมด เช่นเดียวกับที่ใจบริสุทธิ์เป็นสิ่งจำเป็นเพื่อครอบคลุมชีวิตผู้เชื่อ ไม่มีสิ่งใด นอกจากจะได้เห็นพระเจ้าจะเติมเต็มความกระหายในจิตใจสาวกของพระองค์ได้

ได้เห็นพระเจ้าแปลว่าอะไร?

แน่นอน หมายถึงได้เห็นพระองค์จริงๆเมื่อได้ไปอยู่ชั่วนิรันดรกับพระองค์ อย่างที่ท่านยอห์นกล่าว “…แต่ เรารู้ว่าเมื่อพระองค์จะเสด็จมาปรากฏนั้น เราทั้งหลายจะเป็นเหมือนพระองค์ เพราะว่าเราจะเห็นพระองค์อย่างที่พระองค์ทรงเป็นอยู่นั้น” (1ยอห์น 3:2)

…พระที่นั่งของพระเจ้าและของพระเมษโปดกจะ ตั้งอยู่ที่นั่น และบรรดาผู้รับใช้ของพระองค์จะนมัสการพระองค์ เขาเหล่านั้นจะเห็นพระพักตร์พระองค์ และพระนามของพระองค์จะประทับอยู่ที่หน้าผากเขา (วิวรณ์ 22:3-4)

นี่เป็นสิ่งที่เราตั้งตารอ – ไกลกว่าปริญญา ไกลกว่างานดีๆ ไกลกว่าชีวิตที่มีความสุขในโลกนี้ และไกลกว่าเงินออมก้อนโตหลังเกษียน

3 สาธุการแด่พระเจ้าพระบิดาแห่งพระเยซูคริสตเจ้าของเรา ผู้ได้ทรงพระมหากรุณาแก่เรา ทรงโปรดให้เราบังเกิดใหม่ เข้าสู่ความหวังใจอันมีชีวิตอยู่ โดยการคืนพระชนม์ของพระเยซูคริสต์ 4 และเพื่อให้ได้รับมรดก ซึ่งไม่รู้เปื่อยเน่า ปราศจากมลทิน และไม่ร่วงโรยซึ่งได้เตรียมไว้ในสวรรค์เพื่อท่านทั้งหลาย (1เปโตร 1:3-4)

พระพรสูงสุดที่ทรงสัญญาไว้ในคำเทศนาบนภูเขา

ถ้อยคำสุดท้ายในพระวจนะตอนนี้กล่าวว่า “จงชื่นชมยินดี เพราะว่าบำเหน็จของท่านมีบริบูรณ์ในสวรรค์” เป็นถ้อยคำที่สรุปทุกสิ่งในคำเทศนาบนภูเขา

หนทางเดียวที่เราจะเห็นพระเจ้าได้ และได้ไปอยู่ชั่วนิรันดร์กับพระองค์ในความหมายนี้คือต้องสร้างความสัมพันธ์ กับพระองค์โดยทางพระเยซูคริสต์ พระเยซูตรัสกับเขาว่า “เราเป็นทางนั้น เป็นความจริงและเป็นชีวิต ไม่มีผู้ใดมาถึงพระบิดาได้นอกจากจะมาทางเรา” (ยอห์น 14:6)

แล้วชีวิตในโลกนี้ล่ะ?

ชีวิตคริสเตียนไม่ใช่ “วาดวิมานในอากาศ” แต่เป็นวิมานที่อยู่ในมือเราตอนนี้ ถ้าเราดำเนินด้วยใจที่บริสุทธิ์ ชีวิตที่ดำเนินในศีลธรรมเพื่อเป็นที่พอพระทัยพระเจ้า และอุทิศตนเพื่อพระองค์ เราจะชื่นชมกับการสถิตอยู่ด้วยของพระองค์ในชีวิตตั้งแต่ตอนนี้ เปโตรกล่าวว่า:

8 พระองค์ผู้ที่ท่านทั้งหลายยังไม่ได้เห็น แต่ท่านยังรักพระองค์อยู่แม้ว่าขณะนี้ท่านไม่เห็นพระองค์ แต่ท่านยังเชื่อและชื่นชม ด้วยความปีติยินดีเป็นล้นพ้นเหลือที่จะกล่าวได้ (1เปโตร 1:8)

โยบได้เห็นพระเจ้า “ข้าพระองค์เคยได้ยินถึงพระองค์ด้วยหู แต่บัดนี้ตาของข้าพระองค์เห็นพระองค์” (โยบ 42:5) ดาวิดมีประสบการณ์การสถิตอยู่ของพระเจ้าในชีวิต

7 ข้าแต่พระเจ้า ความรักมั่นคงของพระองค์ประเสริฐสักเท่าใด
ลูกหลานของมนุษย์เข้าลี้ภัยอยู่ใต้ร่มปีกของพระองค์
8 เขาอิ่มด้วยความอุดมสมบูรณ์แห่งพระนิเวศของพระองค์
และพระองค์ประทานให้เขาดื่มจากแม่น้ำแห่งความสุขเกษมของพระองค์
9 เพราะธารน้ำพุแห่งชีวิตอยู่กับพระองค์
เราเห็นความสว่างโดยสว่างของพระองค์ (สดุดี 36:7-9)

พระพรที่ยิ่งใหญ่สุดสำหรับเป้าหมายที่ประเสริฐของชีวิตคริสเตียนคือได้ รู้จักพระเจ้า มีประสบการณ์การสถิตอยู่ของพระองค์ในทุกๆวัน และมีชีวิตเพื่อพระสิริของพระองค์ อ.เปาโลตั้งเป้าหมายชีวิตของท่านเช่นนี้เมื่อท่านกล่าวว่า:

7 แต่ว่าสิ่งใดที่เคยเป็นคุณประโยชน์แก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าถือว่าสิ่งนั้นไร้ประโยชน์แล้ว เพื่อเห็นแก่พระคริสต์ 8 ที่จริงข้าพเจ้าถือว่าสิ่งสารพัดไร้ประโยชน์ เพราะเห็นแก่ความประเสริฐแห่งความรู้ถึงพระเยซูคริสต์ องค์พระผู้เป็นเจ้าของข้าพเจ้า เพราะเหตุพระองค์ ข้าพเจ้าจึงได้ยอมสละสิ่งสารพัด และถือว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นเหมือนหยากเยื่อเพื่อข้าพเจ้าจะได้พระคริสต์ 9 และจะได้ปรากฏอยู่ในพระองค์ ไม่มีความชอบธรรมของข้าพเจ้าเอง ซึ่งได้มาโดยธรรมบัญญัติ แต่มีมาโดยความเชื่อในพระคริสต์ เป็นความชอบธรรมซึ่งมาจากพระเจ้าซึ่งขึ้นอยู่กับความเชื่อ 10 ข้าพเจ้าต้องการจะรู้จักพระองค์ และได้รับประสบการณ์ในฤทธิ์เดช เนื่องในการที่พระองค์ทรงคืนพระชนม์นั้น และร่วมทุกข์กับพระองค์ คือยอมตั้งอารมณ์ตายเหมือนพระองค์ (ฟีลิปปี 3:7-10)

ถ้าเรามีเป้าหมายนี้ในชีวิต ผลคือการดำเนินชีวิตแต่ละวันไปกับพระเจ้าและเป็นที่ปิติของพระองค์ ได้รับพระพรและเติมเต็มชีวิตด้วยความปิติยินดี จนกว่าจะได้อยู่กับพระองค์ชั่วนิรันดร์ “บุคคลผู้ใดมีใจบริสุทธิ์ ผู้นั้นเป็นสุข เพราะว่าเขาจะได้เห็นพระเจ้า”


1 160 ลิขสิทธิ 2003 by Community Bible Chapel, 418 E. Main Street, Richardson, TX 75081. เป็นฉบับแก้ไขจากบทเรียนที่ 15 ของบทเรียนต่อเนื่อง พระกิตติคุณมัทธิว จัดทำโดย อิมมานูเอล คริสเตียน 1 มิถุนายน 2003

2 161 นอกจากที่กำกับไว้ พระวจนะ (ภาษาอังกฤษ) ทุกตอนนำมาจากฉบับแปล The Holy Bible, New International Version. Copyright 1973, 1978, 1984 by The International Bible Society. Used by permission.

3 162 R. Kent Hughes, The Sermon on the Mount: The Message of the Kingdom (Wheaton, Illinois: Crossway Books, 2001), p. 56.

Related Topics: Faith, Sanctification

14. “ไม่ได้มาเลิกล้าง แต่มาทำให้สมบูรณ์” (มัทธิว 5:17-20)

Related Media

คำนำ1

คนเราเก่งในเรื่องหาความชอบธรรมให้ตนเอง ขอย้ำ คนเราเก่งในเรื่องหาความชอบธรรมให้ตนเอง มนุษย์มีความสามารถพิเศษที่ให้ความมั่นใจกับตัวเองได้ไม่ว่าไปทำอะไรมา พวกเขาก็จะ “ไม่เป็นไร” ลองคิดดู กี่ครั้งที่คุณได้ยิน “ถึงมันไม่ใช่ตัวเลือกที่ดีที่สุด แต่มันก็โอเคนะ” หรือ “ใช่ ผมรู้ว่าไม่ควรทำอย่างนั้น แต่ไม่เป็นไรหรอก ใช่ว่าจะทำตลอดเวลาเมื่อไร” พระเจ้าประทานความคิดสร้างสรรค์ให้มนุษย์ แต่เรามักนำไปใช้ในทางชั่วมากกว่าทางดี

ดูเหมือนเรามีความคิดบรรเจิดที่สุดเมื่อบอกกับตัวเองว่าเราดีพอ

  • ดีเกินกว่าจะทำงานกับบริษัทที่ปฏิเสธเรา
  • ดีเกินกว่าจะเข้ามหาวิทยาลัยที่ไม่รับเรา
  • ดีเกินกว่าหนุ่มคนนั้นที่ไม่เคยโทรกลับมา
  • ดีเกินกว่าผู้หญิงคนนั้นที่บอก “ไม่ล่ะ ขอบคุณ”

ดูเหมือนไม่ว่าอะไรจะเกิดขึ้นกับเรา คนส่วนใหญ่จะมีความสามารถพิเศษทำให้ตนเองรู้สึกว่าแบบของฉันดีกว่า ถ้าสังเกตให้ดี ส่วนที่หลงตัวเองมักเกี่ยวข้องกับสิ่งหนึ่ง เมื่อมีข้ออ้างหรือหาความชอบธรรมให้กับสิ่งที่เกิดกับตนเองหรือความประพฤติ ของตน พวกเขาปฏิเสธไม่ยอมรับว่ามีบางคนมีมาตรฐานที่พวกเขาไม่อาจทำตามได้

เมื่อมหาวิทยาลัยปฏิเสธไม่รับคุณ – ยอมรับเถอะครับ คุณไม่ได้ตามมาตรฐานของเขา เมื่อทีมว่ายน้ำตัดชื่อคุณออก – คุณก็ว่ายไม่ได้เร็วเท่าที่ควร เมื่อไม่ได้เลื่อนขั้น – เฮ้ คุณไม่ได้เชี่ยวชาญขนาดนั้น เมื่อคุณสอบวัดความชำนาญไม่ผ่าน – ยอมรับเถอะครับ คุณไม่ได้เข้าใจอุปกรณ์พวกนั้นเท่าที่ควร เมื่อถูกปฏิเสธเงินกู้ – ประวัติการเงินคุณอาจไม่ดี แต่เราไม่ชอบใจ มันยากที่จะทำใจ เราจึงหาความชอบธรรมให้ตัวเอง “โอ้ เธอไม่รู้หรอกว่าดีแปลว่าอะไร” “โอ้ พวกเขาไม่ชอบผู้จัดการฝ่ายเทคนิค” “ข้อสอบมีคำถามที่ไม่ได้เรื่อง” “ไม่แปลก เดี๋ยวนี้ใครๆก็เป็นหนี้”

สู่เรื่องฝ่ายวิญญาณ

น่าเศร้าคนเราหาความชอบธรรมให้ตนเองในแบบที่คนภายนอกเห็นได้ และยังหาความชอบธรรมให้ตนเองในแบบส่วนตัว และชีวิตฝ่ายวิญญาณด้วย เมื่อคุณสำรวจความชอบธรรมในแบบที่ไม่ใช่ส่วนตัว จะพบว่ามาตรฐานความชอบธรรมนี้ก็ส่วนตัวพอๆกับเจ้าตัว บางทีเหมือนเรากำลังหลงอยู่ในยุคผู้วินิจฉัย ขอทวนคำพูดตอนนั้นครับ “ทุกคนทำในสิ่งที่ตนเองเห็นว่าถูกต้อง” เราอาจจะเติม “และมั่นใจด้วยว่าเป็นสิ่งถูกต้องที่ทำ” ผู้คนต่างมี “แนวคิดของตนเอง” อะไรคือความชอบธรรมและความดีงาม และตัดสินใจว่าจะดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแนวคิดนั้น

หนึ่งในปัญหาใหญ่ในกรอบความคิดของคนยุคหลังสมัยใหม่ คือไม่มีใครอยากใส่ใจมาตรฐานความชอบธรรมที่ไม่ใช่แบบตัวเอง ส่วนคนที่ไม่อยากทำแบบนี้ ก็ไม่กล้าทำ เพราะไม่มีใครอยากกำหนดมาตรฐานขึ้นมา กลัวว่าจะไปกระทบกระเทือนผู้อื่น คนเลยปล่อยตามสบาย ตั้งมาตรฐานของตนเองขึ้นมา แล้วเอาตัวเองไปคอยเช็ค ที่น่าประหลาด น่าประหลาดที่สุด พวกเขาทำมันได้ครบถ้วน! นี่เป็นคุณสมบัติที่ดีที่สุดตามมาตรฐานความชอบธรรมส่วนตัว เป็นแบบสั่งทำพิเศษเพื่อตนเอง โดยตนเอง และเหมาะสำหรับตนเองเท่านั้น เราอาจเรียกว่าเป็น “ความชอบธรรมเฉพาะตัว” เพราะมันบ้าบอสิ้นดีที่คิดว่าเราสามารถทำได้ตามมาตรฐานของเราเอง และมีคุณค่าสูงส่งด้วย

ทำลิสต์ตามรายการ

ทำไมมาตรฐานความชอบธรรมส่วนตัวของเราจึงมีข้อบกพร่อง? เหตุผลหนึ่งเพราะเราเองบกพร่อง แต่อีกเหตุผลเกี่ยวข้องกับวิธีที่เราทำตามมาตรฐานนั้น มนุษย์มักชอบทำไปตามลิสต์ของกฎเกณฑ์ ทำไม? เพราะพวกเขาสามารถเช็คลิสต์ตามไปได้ เราชอบทำลิสต์กฎเกณฑ์ต่างๆ เพราะเราสามารถใส่มันลงไปในสมุดวางแผนงานประจำปี หรือใส่ใน ”สมาร์ทโฟน” แล้วถ้าเราเช็คลิสต์นั้นผ่าน เราก็สบายใจ ไม่มีอะไรรู้สึกดีไปกว่าเช็คลิสต์ผ่าน เช็ครายการทำความดีแล้วผ่าน ปัญหาคือลิสต์นั้นอันตรายเพราะมันมีความสามารถลึกลับทำให้เรารู้สึกชอบธรรม เพราะทำบางสิ่งผ่านได้ ฟังอีกครั้ง การเช็คลิสต์บางสิ่งให้ผ่าน ทำให้รู้สึกว่าทำได้แล้ว แต่เป็นแค่ชั่วคราวครับ

คิดดู คงไม่มีคนเขียนลงไปในลิสต์ “วันนี้รักภรรยาให้ได้” ทำไม? เพราะเป็นภารกิจที่ค้านกับหลักการบริหารเวลา ภารกิจนี้ต้องวัดผลได้ ทำอย่างไรถึงจะวัดปริมานความรักได้? ทันทีที่ถามคำถามนี้ ในหัวผมตอบว่า “เดี๋ยวล้างจานให้ละกัน” ผมก็ไปล้างจาน แต่ภรรยาไม่ได้รู้สึกว่ามีความรักเพิ่มขึ้น ผมบอกเธอผมรักเธอตอนเดินออกจากบ้าน แต่พอกลับมา ไม่เห็นเธอจะได้รับความรักเพิ่มขึ้น งั้นเปลี่ยนใหม่ แทนที่จะบอกว่า “รักภรรยา” กลับบอกว่า “ให้ดอกไม้เธอ” อืม พอวัดได้ ผมสามารถ “ทำ” ได้ และเมื่อทำผมก็บอกตัวเองว่าผมรักเธอ ความรักเป็นตัวอย่างที่ดีเพราะมีหลายสิ่งที่สามีทำให้ภรรยาได้ เป็นสิ่งที่ควรต้องทำ แต่ถ้าไม่ทำเพราะผมรักเธอ และเธอรักผม ทำไมสิ่งเหล่านี้ไม่ค่อยเกิดผลตามที่คาดหวัง? มันก็ลงไปที่เรื่องของหัวใจ ถ้าไม่มีใจในนั้น ความรักก็ไม่ได้รับการกระตุ้น ดอกไม้เหี่ยวเฉาไป จานก็สกปรกอีก ถ้าไม่ทำสิ่งเหล่านี้จากใจ ผลของมันแทบมองไม่เห็น เช่นเดียวกับเรื่องฝ่ายวิญญาณ ถ้าใจไม่อยู่ในนั้น เชื่อฟังตามมาตรฐานของพระเจ้าเพื่อความชอบธรรม มากกว่าทำตามความชอบธรรมที่ตั้งเอาเองก็จะไม่เกิดผล เราหาเหตุผลมาอ้างได้เสมอ

พูดถึงความชอบธรรมส่วนตัว เมื่อต้องดำเนินชีวิตให้เป็นที่พอพระทัย และการติดตามพระเยซูคริสต์ เรื่องของใจเป็นเรื่องสำคัญ จำไว้นะครับ : เช็คลิสต์ตกแต่งได้ แต่ใจต่างหากที่สำคัญ เมื่อ มาดูคำสอนของพระเยซูในคำเทศนาบนภูเขา เราเห็นว่าพระองค์เน้นและส่องสปอตไลท์ไปที่ประพฤติกรรมของผู้ติดตามพระองค์ ในข้อ 5:17-20 พระวจนะในบทเรียนตอนนี้ พระองค์ทรงเล็งไปที่แรงจูงใจในเรื่องดังต่อไปนี้

คำเทศนาบนภูเขา

ดูมัทธิว 5:17-20 และคำสอนก่อนหน้าในข้อ 1-12 สรุปคุณลักษณะและทัศนคติของผู้ติดตามพระเยซู มีหลักการเพื่อเอาชนะฝ่ายวิญญาณ (ความยากจนฝ่ายกาย) ความโศกเศร้า ความอ่อนน้อมถ่อมตน กระหายหาความชอบธรรม ความเมตตา ความบริสุทธิ์ หว่านสันติ ถูกข่มเหง บางคนที่ติดตามพระเยซูมีทัศนคติเช่นนี้อยู่ และถูกกระตุ้นให้ดำเนินตาม เป็นทัศนคติและความประพฤติที่จะสร้างลักษณะนิสัยในชีวิตของผู้ติดตามพระ คริสต์

เกลือและความสว่าง (มัทธิว 5:13-16)

ทัศนคตินี้เกิดคำถามขึ้นทันที ทำไมต้องดำเนินชีวิตแบบนี้? ยอมรับเถอะครับ ใครบ้างอยากจะเป็นคนอ่อนน้อมถ่อมตน? เหตุผลหนึ่ง เพื่อจะชูรสในโลกที่จืดชืดนี้ บ่อยครั้งเราเองก็รสชาตเหมือนคนในโลก และพี่น้องครับ โลกนี้รสชาตแย่มาก แม้จะดูสวยงามแต่เป็นบาร์บีคิวที่ถูกซอสราดกลบไว้

พระเยซูจึงให้สาวกพระองค์เป็นต้นแบบความชอบธรรมเพื่อให้ชีวิตมีรสชาต ดำเนินชีวิตแบบนี้ ผู้คนจะลิ้มรสได้ แต่ทำไมต้องเค็ม ทำไมต้องส่องสว่าง? เพื่อว่าเมื่อเขาได้เห็นความดีที่ท่านทำ เขาจะได้สรรเสริญพระบิดาของท่าน ผู้ทรงอยู่ในสวรรค์”2 (มัทธิว 5:16) การทำดีของเราเป็นโอกาสให้พระบิดาในสวรรค์ได้รับพระกียรติ ทำไมต้องมีใจเมตตา? เพื่อพระสิริของพระเจ้า ทำไมต้องเป็นคนบริสุทธิ์? เพื่อพระสิริของพระเจ้า ทำไมมีรายได้เป็นล้านๆ แต่มีชีวิตเหมือนรายได้ไม่กี่หมื่น? เพื่อพระสิริของพระเจ้า ทำไมต้องอ่อนน้อมถ่อมตนในโลกที่บอกว่า “เฮ้ คุณมีสิทธินะ” เพื่อพระสิริของพระเจ้า อ.เปาโลนำสิ่งนี้ไปย้ำในหนังสือทิตัส ท่านกล่าวว่า:

11 เพราะว่าพระคุณของพระเจ้าได้ปรากฏแล้ว เพื่อช่วยคนทั้งปวงให้รอด 12 สอนให้เราละทิ้งความอธรรมและโลกียตัณหา และดำเนินชีวิตในยุคนี้อย่างมีสติสัมปชัญญะ สัตย์ซื่อสุจริตและตามคลองธรรม 13 คอยความสุขซึ่งจะได้รับตามความหวัง ได้แก่การปรากฏของพระสิริของพระเจ้าใหญ่ยิ่งคือ พระเยซูคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอดของเรา 14 ผู้ได้ทรงโปรดประทานพระองค์เองให้เรา เพื่อไถ่เราให้พ้นจากการอธรรมทุกอย่าง และทรงชำระเราให้บริสุทธิ์ เพื่อให้เป็นหมู่ชนพิเศษเฉพาะของพระองค์ และเป็นคนที่ขวนขวายกระทำการดี (ทิตัส 2:11-14)

ในบทต่อไป อ.เปาโลกล่าวอีกว่า:

8 คำนี้เป็นคำจริง ข้าพเจ้าปรารถนาให้ท่านเน้นเรื่องเหล่านี้ เพื่อคนทั้งหลายที่เชื่อในพระเจ้าแล้วจะได้ อุตส่าห์กระทำการดี การเหล่านี้ดีและเป็นประโยชน์แก่คนทั้งปวง (ทิตัส 3:8)

พระเยซูคริสต์สอนว่า ชีวิตของผู้ที่อ้างว่าติดตามพระองค์ควรมีลักษณะนิสัยและความประพฤติตาม ทัศนคตินี้ ปัญหาคือพระเยซูไม่ได้สอนเหมือนคนรอบข้าง ทำให้คนฟังตกใจ พูดเรื่องความอ่อนน้อมถ่อมตน ความยากจน และการถูกข่มเหงทำให้เกิดคำถามขึ้นมาในใจผู้ฟัง :

  • นี่เป็นเรื่องใหม่หรือ?
  • สอนมาจากนิยายหรือ?
  • คุณเข้าใจเองหรือ?
  • จะมาทำลายศรัทธาในผู้คนหรือ?
  • พยายามกำจัดสิ่งที่คนเชื่อถือ ที่ถูกสั่งสอนมาเป็นศตวรรษๆหรือ?
  • กล้าต่อต้านโมเสสและพวกผู้เผยพระวจนะหรือ?

คำตอบของพระเยซูชัดเจนในข้อ 17 : “อย่าคิดว่าเรามาเลิกล้างธรรมบัญญัติและคำของผู้เผยพระวจนะ เรามิได้มาเลิกล้าง แต่มาทำให้สมบูรณ์ทุกประการ”

เมื่อพระเยซูตรัสว่า “อย่าคิดว่า…” คาดว่าคงมีคนกำลังคิด พระองค์นำเรื่องใหม่เข้ามา เป็นคำสอนที่แรง ขัดแย้งกันสิ้นเชิง ได้ยินกับหูว่าพระเยซูจะมาพลิกประเพณีดั้งเดิม ผู้คนเชื่อว่าธรรมบัญญัติโมเสสเป็นสมบัติล้ำค่าของชาวยิว มาบอกล้มเลิกก็เท่ากับหมิ่นประมาท

พวกนี้คงไม่พอใจอะไรมากไปกว่าให้พระเยซูสอนอะไรใหม่ๆ หลักศาสนาที่ฟังแล้วตาโต เพื่อพวกเขาจะให้คำสอนนี้เป็นคำสอน “ใหม่” แล้วก็จบๆไป แต่พระเยซูไม่ให้เลือกได้ พระองค์จึงสอนว่าพระองค์เองดำเนินตามธรรมบัญญัติและผู้เผยพระวจนะ แล้วทรงดำเนินตามธรรมบัญญัติกับพวกเขาอย่างไร? – ทรงทำให้สมบูรณ์

ถ้าจะเจาะลึกมากกว่านี้ ก็จะเกิดคำถามทันที “โอเค ฟังดูชัดเจน แต่ “สมบูรณ์” แปลว่าอะไร?” การตีความคำว่า “สมบูรณ์” ในมัทธิว 5:17 แบ่งได้สามแบบ3

1) บางคนเข้าใจว่าพระเยซูมาทำตามธรรมบัญญัติ และนี่เป็นการประกาศว่าการกระทำของพระองค์นั้นชอบธรรมตามที่บัญญัติไว้อย่างสมบูรณ์ แต่ปัญหาคือพวกเขาได้ยินคำพูด แต่ไม่เห็นการกระทำ แต่ตอนท้ายของคำเทศนาบนภูเขา ประชาชนทั้งปวงก็อัศจรรย์ใจด้วยคำสั่งสอนของพระองค์ เพราะว่าพระองค์ได้ทรงสั่งสอนเขาด้วยสิทธิอำนาจ หาเหมือนพวกธรรมาจารย์ของเขาไม่ (มัทธิว 7:28ข-29)

2) คนอื่นๆเข้าใจว่าที่พระเยซูมาทำตามธรรมบัญญัติ คือมาทำให้ครบถ้วน พวก เขาเข้าใจคำว่า “สมบูรณ์” หมายถึงทำให้ครบถ้วนในแง่เปิดเผยความมุ่งหมายที่แท้จริงของธรรมบัญญัติ ตัวเลือกนี้ก็ใช่ แต่ “ทำให้สมบูรณ์” ในมัทธิวยังมีมากกว่าอธิบายธรรมบัญญัติ4

3) คนอื่นๆบอกว่าพระเยซูมาเพื่อสนับสนุนธรรมบัญญัติ คือบอกให้คนเชื่อฟัง

4) ข้อสี่ และน่าจะเป็นตัวเลือกที่ดี ชัดเจนเมื่อเรามองว่ามัทธิวใช้แนวคิด “ทำให้สมบูรณ์” อย่างไรถึงจุดนี้

ในตอนเริ่มพระกิตติคุณ มัทธิวใช้ความพยายามมากชี้ให้เห็นว่าพระเยซูคือพระคริสต์ที่จะมาทำให้คำ พยากรณ์ในพระคัมภีร์เดิมสำเร็จ พระองค์ไม่ได้เสด็จลงมาจากสวรรค์โดยไม่บอกให้รู้ล่วงหน้า ผู้คนไม่เฉลียวใจเลยหรือว่าพระองค์เสด็จมา? … ไม่เลย สำหรับมัทธิว การถือกำเนิดมาและช่วงต้นชีวิตของพระคริสต์พยากรณ์เอาไว้ล่วงหน้ามาหลาย ศตวรรษ และเมื่อพระองค์เสด็จมา ทรงทำให้คำพยากรณ์นั้นเกิดขึ้นสมบูรณ์

มาดูสี่บทแรกของพระกิตติคุณมัทธิวกัน:

  1. 1:22-23. “ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า ดูเถิด หญิงพรหมจารีคนหนึ่งจะตั้งครรภ์และคลอดบุตรชายคนหนึ่ง และเขาจะเรียกนามของท่านว่า อิมมานูเอล (แปลว่าพระเจ้าทรงอยู่กับเรา) – จากอิสยาห์ 7:14
  2. 2:4-6 แล้วท่านให้ประชุมบรรดามหาปุโรหิตกับพวกธรรมาจารย์ของประชาชน ตรัสถามเขาว่า “ผู้เป็นพระคริสต์นั้นจะบังเกิดแห่งใด” เขาทูลว่า “ที่บ้านเบธเลเฮมแคว้นยูเดีย เพราะว่าผู้เผยพระวจนะได้เขียนไว้ ดังนี้ว่า บ้านเบธเลเฮมในแผ่นดินยูเดีย จะเป็นบ้านเล็กน้อยที่สุดในสายตาของบรรดาผู้ครองแผ่นดินยูเดียก็หามิได้ เพราะว่าเจ้านายคนหนึ่งจะออกมาจากท่าน ผู้ซึ่งจะครอบครองอิสราเอลชนชาติของเรา” – จากมีคาห์ 5:2
  3. 2:14-15. “ในเวลากลางคืนโยเซฟจึงลุกขึ้น พากุมารกับมารดาไปยังประเทศอียิปต์ และได้อยู่ที่นั่นจนเฮโรดสิ้นพระชนม์ ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งได้ตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า เราได้เรียกบุตรของเราให้ออกมาจากอียิปต์” – จากโฮเชยา 11:1
  4. 2:17-18 “ครั้งนั้นก็สำเร็จตามพระวจนะที่ตรัสโดยเยเรมีย์ผู้เผยพระวจนะว่า ได้ยินเสียงในหมู่บ้านรามาห์ เป็นเสียงโอดครวญและร่ำไห้ คือนางราเชลร้องไห้คร่ำครวญ เพราะบุตรทั้งหลายของตน นางไม่รับฟังคำปลอบเล้าโลม เพราะบุตรทั้งหลายนั้นไม่มีแล้ว – จากเยเรมีย์ 31:15
  5. 3:3. ยอห์นผู้นี้แหละ ซึ่งตรัสถึงโดยอิสยาห์ผู้เผยพระวจนะว่า “เสียงผู้ร้องในถิ่นทุรกันดารว่า จงเตรียมมรรคาแห่งพระเป็นเจ้า จงกระทำหนทางของพระองค์ให้ตรงไป” – จากอิสยาห์ 40:3
  6. 4:12-16. “ครั้นพระเยซูทรงทราบข่าวว่ายอห์นถูกจำไว้แล้ว พระองค์ก็เสด็จไปยังแคว้นกาลิลี แล้วย้ายที่ประทับจากเมืองนาซาเร็ธไปที่เมืองคาเปอรนาอุม ซึ่งอยู่ริมทะเลสาบที่เขตเผ่าเศบูลุนและนัฟทาลี เพื่อจะสำเร็จตามพระวจนะ ซึ่งตรัสไว้โดยอิสยาห์ผู้เผยพระวจนะว่า แคว้นเศบูลุนและแคว้นนัฟทาลี ทางข้างทะเลฟากแม่น้ำจอร์แดนข้างโน้น คือกาลิลี แห่งบรรดาประชาชาติ ประชาชนผู้นั่งอยู่ในความมืด ได้เห็นความสว่างยิ่งใหญ่ และผู้ที่นั่งอยู่ในแดนและเงาแห่งความตาย ก็มีความสว่างขึ้นส่องถึงเขาแล้ว” – จากอิสยาห์ 9:1-2

สังเกตุดูจะเห็นมัทธิวปูพื้นการเสด็จมาเพื่อทำให้สมบูรณ์ตลอดสี่บทแรก ดังนั้นเมื่อพระเยซูตรัสว่าจะมาทำให้สมบูรณ์ มัทธิวต้องการให้เราเข้าใจว่ามีการนำร่องมาก่อน ธรรมบัญญัติและผู้เผยพระวจนะชี้มาที่พระเยซูตามที่พยากรณ์ แล้วผู้คนคิดว่าพระองค์มาเลิกล้างธรรมบัญญัติและคำของผู้เผยพระวจนะได้อย่าง ไร? เพราะทั้งหมดชี้มาที่พระคริสต์ และพระองค์ทราบว่าพระราชกิจของพระองค์คือมาทำในสิ่งที่เปิดเผยไว้ล่วงหน้า ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ จำลูกา 24:44 ได้หรือไม่?

พระองค์ตรัสกับเขาว่า “นี่เป็นถ้อยคำของเรา ซึ่งเราได้บอกไว้แก่ท่านทั้งหลาย เมื่อเรายังอยู่กับท่านว่า บรรดาคำที่เขียนไว้ในหมวดธรรมบัญญัติของโมเสส และในหมวดผู้เผยพระวจนะและในหมวดสดุดีกล่าวถึงเรานั้น จำเป็นจะต้องสำเร็จ” (ลูกา 24:44)

คุณคิดว่าคำสนทนานี้นานแค่ไหน? สามนาที? ผมคิดว่าไม่น่านาน ลองคิดดู ได้ยินพระเยซู ผู้เป็นพระเมสซิยาห์ เปิดพระคัมภีร์เดิมแล้วตรัสว่า “ดูสิ เราคือคนๆนั้น!”

บ่อยครั้งในพระวจนะ ถ้อยคำต่างๆมีได้มากกว่าหนึ่งความหมาย รวมถึงมีนัยสำคัญเพิ่มเข้ามา พระวจนะตอนนี้ก็ด้วย ไม่ต้องสงสัย ธรรมบัญญัติและผู้เผยพระวจนะชี้มาที่พระเยซู แต่ยังมีอีก สิ่งที่ย้ำชัดในคำเทศนาบนภูเขาคือสิทธิอำนาจในการสั่งสอน และในชีวิตของผู้ติดตามพระองค์ พระองค์อธิบายถึงจุดมุ่งหมายของธรรมบัญญัติและผู้เผยพระวจนะ พระวจนะในบทเรียนนี้ทำหน้าที่เป็นคำนำเข้าสู่มัทธิว 5:27-48 เมื่อพระเยซูวางให้เห็นชัดว่าธรรมบัญญัติคาดหวังสิ่งใด ถ้อยคำที่ตรัสว่า: “ท่านทั้งหลายได้ยินคำซึ่งกล่าวไว้แก่คนโบราณว่า … ฝ่ายเราบอกท่านทั้งหลายว่า” เน้นชัดถึงสิทธิอำนาจในคำสอนของพระองค์เมื่อเทียบกับคำสอนของยุคนั้นที่ผู้ อื่นพูดไว้ก่อนหน้า พระเยซูประกาศชัดถึงความหมายของพระวจนะ ไม่ได้พูดถึงผู้อื่นเว้นแต่พระองค์เอง มองดีๆจะเห็นว่าพระเยซูไม่ได้สอนสิ่งใหม่ แต่สอนตามที่ธรรมบัญญัติโมเสสและผู้เผยพระวจนะสอนไว้ พวกเขาสอนอะไร? สอนว่าชีวิตที่ดำเนินอย่างชอบธรรมต่อหน้าพระเจ้า ต้องเป็นชีวิตที่เชื่อฟังอย่างหมดหัวใจ

ผมเห็นด้วยกับเพื่อนที่เป็นครู เขาบอกว่าความชอบธรรมที่พระเยซูเป็นและที่ตรัสไว้ตั้งแต่แรก คือความชอบธรรมในแบบ “ที่สาวกของพระองค์ต้องดำเนินชีวิตตามนั้น” พระองค์ไม่ได้ตรัสถึงความชอบธรรมที่จะมอบให้บนไม้กางเขนเหมือนตอนอื่นๆ แต่ในคำเทศนาบนภูเขา พระองค์มุ่งไปยังคนที่บอกว่าเป็นสาวก และประเด็นของพระองค์ตามที่ยากอบพูดออกจะเรียบง่าย : ถ้าเจ้าจะติดตามเรา การดำเนินชีวิตของเจ้าเป็นเรื่องสำคัญ!

การให้ความสำคัญของชีวิตที่ดำเนินตามคำเทศนาบนภูเขา ที่เราเรียก 12 ข้อแรกว่า “ผู้นั้นเป็นสุข” เพราะเราคาดหวังให้คริสเตียนทำตาม ดูมัทธิว 5:13-16 ที่จะเรียนในบทต่อไป อย่างที่พูดไป ทุกอย่างสรุปลงในที่ข้อ 16: “ท่าน ทั้งหลายก็เหมือนกับตะเกียง จงส่องสว่างแก่คนทั้งปวง เพื่อว่าเมื่อเขาได้เห็นความดีที่ท่านทำ เขาจะได้สรรเสริญพระบิดาของท่าน ผู้ทรงอยู่ในสวรรค์” จากข้อ 20 ไปพูดเรื่องห้ามฆ่าคน ห้ามล่วงประเวณี ห้ามหย่าร้าง ห้ามสาบาน ห้ามแก้แค้น และให้รักศัตรู พระเยซูทรงสอนให้ทำสิ่งเหล่านี้ ไม่ใช่แค่สอน ทรงสั่ง – ให้คนที่ฟังอยู่ – ทำตาม

มัทธิว 6 เปิดด้วยคำพูดว่า “จงระวัง อย่ากระทำศาสนกิจเพื่ออวดคนอื่น ถ้าทำอย่างนั้นท่านจะไม่ได้รับบำเหน็จจากพระบิดาของท่านผู้ทรงสถิตในสวรรค์” มัทธิว 7 จบลงที่ : “มิ ใช่ทุกคนที่เรียกเราว่า ‘พระองค์เจ้าข้า พระองค์เจ้าข้า’ จะได้เข้าในแผ่นดินสวรรค์ แต่ผู้ที่ปฏิบัติตามพระทัยพระบิดาของเรา ผู้ทรงสถิตในสวรรค์จึงจะเข้าได้” มีหลายคนจะมาหาพระองค์ และเล่าว่าได้ “ทำ” หลายสิ่งในพระนามของพระองค์ พระเยซูตอบว่าอย่างไร? – ‘เราไม่เคยรู้จักเจ้าเลย เจ้าผู้กระทำความชั่ว จงไปเสียให้พ้นหน้าเรา” (มัทธิว 7:23) แล้วตรัสว่า “ผู้ใดที่ได้ยินคำเหล่านี้ของเรา และประพฤติตาม เขาก็เปรียบเสมือนผู้ที่มีสติปัญญา… แต่ผู้ที่ได้ยินคำเหล่านี้ของเราและไม่ประพฤติตาม เขาก็เปรียบเสมือนผู้ที่โง่เขลา” คำเทศนาบนภูเขาทั้งหมดส่วนใหญ่ไปตามแนวคิดว่าผู้ติดตามพระเยซูควรดำเนิน ชีวิตอย่างไร เพื่อนผมบอกว่าต้องขจัดอุปสรรคแห่งการเชื่อฟังออกไป ผมขอเพิ่มว่า “อย่าคิดว่าคุณชอบธรรมพอแล้ว แน่นอน ในพระคริสต์คุณเป็นคนชอบธรรม – แต่พระเยซูทรงเรียกให้คุณดำเนินชีวิตตามความชอบธรรมนั้นด้วย – อ.เปาโลสะท้อนในสิ่งเดียวกันเมื่อท่านตอบคำถามนี้ “ถ้าเช่นนั้นแล้วเราจะว่าอย่างไร ควรเราจะอยู่ในบาปต่อไป เพื่อให้พระคุณมีมากยิ่งขึ้นหรือ? (โรม 6:1) ไม่แน่นอน

ดังนั้น ขอให้ชัดเจนในคำสอนของพระเยซูเรื่องพระราชกิจแห่งความรอด ผมคิดว่าพระวจนะเป็นพยานอย่างดีถึงชีวิตของผู้ติดตามพระเยซู คือต้องสะท้อนให้เห็นถึงความชอบธรรมของพระผู้ช่วยให้รอด

อักษร หรือขีดเล็กขีดน้อย

หลังจากประกาศว่าพระองค์มาทำให้สมบูรณ์ หรือมาทำให้ธรรมบัญญัติสมบูรณ์ พระเยซูทรงยืนยันถึงคุณค่าของธรรมบัญญัติ ดูในข้อ18 : “เรา บอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ตราบใดที่ฟ้าและดินดำรงอยู่ แม้อักษรหนึ่งหรือขีดๆหนึ่งก็จะไม่สูญไปจากธรรมบัญญัติ จนกว่าสิ่งที่จะต้องเกิด ได้เกิดขึ้นแล้ว” ถ้อยคำนี้ย้ำถึง ความจริงว่าพระเยซูทรงมาทำให้ธรรมบัญญัติครบถ้วนสมบูรณ์ เราไม่ค่อยคิดกันว่าธรรมบัญญัติเป็นคำพยากรณ์ถึงพระคริสต์ได้ แต่ผู้เขียนหนังสือฮีบรูพูดไว้ นอกจากนั้นยังมีคำทำนายในธรรมบัญญัติที่มองไปข้างหน้าถึงการเสด็จมาของพระเม สซิยาห์ และพระราชกิจของพระองค์ มากกว่านั้น ในธรรมบัญญัติมีคำพยากรณ์ถึงการลงโทษและการคืนสู่สภาพดีของอิสราเอล สิ่งเหล่านี้จำต้องเกิดขึ้น

เราคิดเสมอว่าผู้เผยพระวจนะเท่านั้นที่พยากรณ์ได้ เรามองไปที่ธรรมบัญญัติโมเสสและเห็นกฎเกณฑ์ที่มีแต่นักกฎหมายเท่านั้นที่ ชื่นชอบ เรามองว่าเป็น “ของแข็งที่กินไม่อร่อย” แต่อยากให้ดูสิ่งที่พระเจ้าเปิดเผยแก่โมเสส แล้วจะเห็นว่าเล็งถึงพระเยซู

มันง่ายที่เราจะเห็นว่าผู้เผยพระวจนะชี้ไปที่พระเยซู แต่มันออกจะยากที่เห็นว่าธรรมบัญญัติก็ชี้ด้วย มีสามวิธีที่ธรรมบัญญัติชี้ไปที่พระคริสต์ :

  1. มีคำพยากรณ์อยู่ในหนังสือห้าเล่มแรกของพระคัมภีร์เดิมเรื่องการเสด็จมา ของท่านผู้หนึ่ง (ปฐมกาล 3:15, ปฐมกาล 49:10, กันดารวิถี 24:17, เฉลยธรรมบัญญัติ 18:18) พระวจนะเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นถ้อยคำของสิ่งที่ผู้เผยพระวจนะตระหนักดี
  2. อีกวิธีที่ธรรมบัญญัติชี้ไปที่พระเยซูคือสัญลักษณ์ของพิธีกรรมในระบอบ ศาสนาอิสราเอล เห็นได้ชัดในการถวายบูชา ผมไม่คิดว่าจะมีใครสงสัยเมื่อยอห์นพูดไว้ใน 1:29 …“จงดูพระเมษโปดกของพระเจ้า ผู้ทรงรับความผิดบาปของโลกไปเสีย” พูดถึงแกะที่บริสุทธิ์ ไร้ตำหนิที่อิสราเอลนำมาถวายบูชา ครั้งแล้วครั้งเล่า
  3. แต่ยังมีแบบที่สามที่คนมักจะมองข้าม คำสอนและหน้าที่ของธรรมบัญญัติยังชี้ไปที่พันธกิจในการสั่งสอนของพระคริสต์ ตอนจบของคำเทศนาบนภูเขา ผู้คนต่างก็อัศจรรย์ใจในคำสอนของพระองค์ ตลอดคำเทศนาบนภูเขา พระเยซูไม่ได้พูดถึงสิทธิอำนาจของธรรมบัญญัติ พระองค์พูดถึงสิทธิอำนาจของพระองค์ในฐานะผู้กล่าวพระคำของพระเจ้า ด้วยความเคารพ หลายๆทาง เหตุการณ์ในคำเทศนาบนภูเขานำร่องมาด้วยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบนภูเขาซีนาย ที่นั่นโมเสสขึ้นไปบนภูเขา ลงมา และสั่งสอนคนอิสราเอล และที่นี่พระเยซูเสด็จขึ้นไปบนภูเขา และสอนคนอิสราเอลที่มานั่งฟังกันอยู่ที่พระบาท

ถ้ายากจะเข้าใจว่าเหตุการณ์นั้นดูไม่เหมือนเป็นคำพยากรณ์ สามารถเข้าใจได้ว่าเป็น “เหตุการณ์ที่ “เล็งถึง” เหตุการณ์ในชีวิตของพระเยซู ลองดูในมัทธิว 2:15 เป็นข้อเท็จจริงในประวัติศาสตร์ของโฮเชยา ซึ่งสามารถตีความโดยมัทธิวว่าเป็นถ้อยคำที่เป็นคำพยากรณ์

ไม่ใช่คำพยากรณ์เท่านั้นที่มองไปข้างหน้า แต่เหตุการณ์ต่างๆด้วย บางทีเหตุการณ์ที่เป็นคำพยากรณ์ยิ่งใหญ่ที่สุดอยู่ใหนังสืออพยพ การช่วยกู้ครั้งยิ่งใหญ่พยากรณ์ไปถึงความรอดที่เราได้รับ และจะได้รับอย่างสมบูรณ์ในสวรรค์ ในวันที่ผู้เชื่อมารวมกันต่อหน้าพระบัลลังก์ พวกเขาจะร้องเพลงเก่าเพลงหนึ่ง “บทเพลงของโมเสส”!5

พระเยซูจึงประทับอยู่ที่นี่ต่อหน้าพวกสาวกและประกาศถึงคุณค่าที่มีมายาว นานของธรรมบัญญัติ พระองค์ตรัสว่ามันจะจบลงอย่างครบถ้วน อย่ามัวแต่เขวไปกับจุด ขีดเล็กขีดน้อย หรือตัวอักษร พระเยซูทรงหมายถึงตัวอักษรที่เล็กที่สุดของภาษาฮีบรู และส่วนย่อยเล็กๆของตัวอักษร นี่เป็นแค่องค์ประกอบ เป็นการขยายความเพิ่ม เพื่อเน้นไปที่ประเด็นของพระองค์ อะไรคือประเด็นของพระองค์? “การเปิดเผยของพระเจ้าต่อโมเสสที่บนภูเขาซีนายชี้มาที่พระองค์ และทั้งหมดนั้นจะเสร็จสิ้นสมบูรณ์” เหมือนโฆษณากาแฟ “รสชาตเยี่ยมจนหยดสุดท้าย”

พระองค์จึงตรัสไว้ในข้อ 19-20:

“เหตุฉะนั้น ผู้ใดได้ทำให้ข้อเล็กน้อยสักข้อหนึ่งในธรรมบัญญัตินี้เบาขึ้น ทั้งสอนคนอื่นให้ทำอย่างนั้นด้วย ผู้นั้นจะได้ชื่อว่าเป็นผู้น้อยที่สุดในแผ่นดินสวรรค์ แต่ผู้ใดที่ประพฤติและสอนตามธรรมบัญญัติ ผู้นั้นจะได้ชื่อว่าเป็นใหญ่ในแผ่นดินสวรรค์ เพราะเราบอกท่านทั้งหลายว่า ถ้าความชอบธรรมของท่าน ไม่ยิ่งกว่าความชอบธรรมของพวกธรรมาจารย์ และพวกฟาริสี ท่านจะไม่มีวันได้เข้าสู่แผ่นดินสวรรค์” (มัทธิว 5:19-20)

พระเยซูกำลังทำสิ่งใด? พระองค์ทรงนำเราย้อนไปที่การเชื่อฟังธรรมบัญญัติว่าช่วยเราให้รอดได้หรือ? ไม่เลย พระองค์กำลังเล็งไปที่การเชื่อมโยงระหว่างความซื่อสัตย์ เชื่อฟังหมดใจ และคนที่คิดว่ามีที่อยู่ในสวรรค์เพราะสร้างบ้านเอาเอง คิดเองว่าตนนั้นชอบธรรม

ถ้าพวกสาวกเชื่อว่าเขาหาที่บนสวรรค์ได้เองโดยทำตามกฎความชอบธรรมของตนเอง แทนที่จะเชื่อฟังพระเยซูอย่างหมดใจ พวกเขาก็คิดผิด ทัศนคติเช่นนี้ไม่มีส่วนในแผ่นดินของพระเจ้า แต่ความชอบธรรมในแผ่นดินของพระเจ้าต้องเป็นไปตามธรรมบัญญัติกำหนด ต้องเป็นไปตามการเชื่อฟังอย่างหมดใจที่เป็นคุณลักษณะที่เกิดจากความรักของพระเจ้า

ต่อไปให้ตั้งใจฟังให้ดี ขอย้ำอีกครั้ง อย่าใส่เข้าไปในปาก หรือเพิ่มเติมเข้าไปในสิ่งที่ไม่ได้พูด – พระ เยซูไม่ได้ตรัสว่าคุณต้องหาทางปฏิบัติเพื่อได้ความชอบธรรมพอเข้าสู่แผ่นดิน ของพระเจ้า เพิ่มความชอบธรรมเข้าไปมากกว่าที่พวกธรรมาจารย์และฟาริสีเพิ่ม แต่พระองค์ทรงมุ่งเน้นไปยังบรรดาคนที่คิดว่าความชอบธรรมของพวกเขาที่ผลิตเอง ที่บ้าน สามารถพาพวกเขาเข้าประตูสวรรค์ได้ เพราะพวกเขาได้ลงมือตามปฏิบัติแล้ว ประเด็นของพระเยซูคือ ในทางตรงข้าม ความชอบธรรมที่เกิดจากหัวใจที่เต็มใจเชื่อฟัง เป็นสิ่งที่มีคุณค่ามากกว่าสิ่งอื่นใด

ประเด็นของพระเยซูไม่ได้พูดถึงความชอบธรรมในแบบที่เราคุ้นเคยจากหนังสือ โรมหรือกาลาเทีย แต่พระเยซูทรงพูดถึงบริบทของพันธสัญญาระหว่างพระเจ้าและอิสราเอล – เป็นพันธสัญญาที่เรียกร้องให้เชื่อฟังอย่างเต็มที่และเต็มใจเหมือนกับที่ พระองค์เป็น:

ดูเฉลยธรรมบัญญัติ 6:4-5 ซึ่งเป็นหนึ่ง ถ้าไม่ใช่ศูนย์กลางแห่งพระวจนะของศาสนาอิสราเอล “โอ คนอิสราเอล จงฟังเถิดพระเยโฮวาห์พระเจ้าของเราทั้งหลาย เป็นพระเจ้าเดียว พวกท่านจงรักพระเยโฮวาห์พระเจ้าของท่านด้วยสุดจิตสุดใจและสิ้นสุดกำลังของ ท่าน”

เหตุฉะนี้พึงทราบเถิดว่า พระเยโฮวาห์พระเจ้าของพวกท่านเป็นพระเจ้า เป็นพระเจ้าสัตย์ซื่อผู้ทรงรักษาพันธสัญญาและความรักมั่นคง ต่อบรรดาผู้ที่รักพระองค์และรักษาพระบัญญัติของพระองค์ ถึงพันชั่วอายุคน (เฉลยธรรมบัญญัติ 7:9)

“ดูก่อน คนอิสราเอล พระเยโฮวาห์พระเจ้าของท่านทรงประสงค์ ให้ท่านกระทำอย่างไร คือให้ยำเกรงพระเยโฮวาห์พระเจ้าของท่าน ให้ดำเนินตามทางทั้งปวงของพระองค์ ให้รักพระองค์ ให้ปรนนิบัติพระเยโฮวาห์พระเจ้าของท่านด้วยสุดจิต สุดใจของท่านทั้งหลาย” (เฉลยธรรมบัญญัติ 10:12)

ข้าพเจ้าขออัญเชิญสวรรค์และ โลกให้เป็นพยานต่อท่านในวันนี้ว่า ข้าพเจ้าตั้งชีวิตและความตาย พระพรและคำสาปแช่งไว้ต่อหน้าท่าน เพราะฉะนั้นท่านจงเลือกเอาข้างชีวิต เพื่อท่านและลูกหลานของท่านจะได้มีชีวิตอยู่ ด้วยมีความรักต่อพระเยโฮวาห์พระเจ้าของท่าน เชื่อฟังพระสุรเสียงของพระองค์ และติดพันอยู่กับพระองค์ กระทำเช่นนั้นจะได้ชีวิตและความยืนนาน เพื่อท่านจะได้อยู่ในแผ่นดินซึ่งพระเจ้าปฏิญาณ แก่บรรพบุรุษของท่าน คือแก่อับราฮัม แก่อิสอัค และแก่ยาโคบ ว่า จะประทานแก่ท่านเหล่านั้น” (เฉลยธรรมบัญญัติ 30:19-20)

แต่อิสราเอลไม่ได้รักพระเจ้าจากใจ พวกเขาหันไปทันทีจากมาตรฐานความชอบธรรมของพระองค์ไปเป็นแบบของตนเอง ถึงจะดูเหมือนเป็นความชอบธรรมของพระเจ้า แต่มีการผ่าตัดใหญ่ในนั้น ผ่าเอาหัวใจออกไป! และ เมื่อทั้งชาติสร้างความชอบธรรมให้ตนเอง เปลี่ยนมาตรฐานของพระเจ้าจากเชื่อฟังอย่างสุดใจ ไปเป็นสิ่งที่คนอิสราเอลทำได้ตามเช็คลิสท์ พวกเขายิ่งออกห่างไกลไปจากพระเจ้ามากขึ้นและมากขึ้น เมื่อพระเจ้าส่งผู้เผยพระวจนะไปหา และย้ำในคำพูดเดิม “ฉีกใจของเจ้า ไม่ใช่ฉีกเสื้อผ้า!”

ฟังสิ่งที่ผู้พระวจนะพูด “ศาสนา” ไม่ใช่เป็นเรื่องเดียวกับการดำเนินชีวิตที่ชอบธรรมจำเพาะพระพักตร์พระเจ้า คุณไม่อาจสร้างมาตรฐานของตนเองและนำเสนอต่อพระเจ้าว่านี่คือชีวิตแห่งความ ชอบธรรมของคุณ

ดูก่อนท่านผู้ปกครองเมืองโสโดม จงฟังพระวจนะของพระเจ้า ดูก่อนท่านประชาชนเมืองโกโมราห์ จงเงี่ยหูฟังพระธรรมของพระเจ้าของเรา พระเจ้าตรัสว่า “เครื่องบูชาอันมากมายของเจ้านั้น จะเป็นประโยชน์อะไรแก่เรา เราเอือมแกะตัวผู้อันเป็นเครื่องเผาบูชา และไขมันของสัตว์ที่ขุนไว้นั้นแล้ว เรามิได้ปีติยินดีในเลือดของวัวผู้ หรือลูกแกะหรือแพะผู้ “เมื่อเจ้าเข้ามาเฝ้าเรา ผู้ใดขอให้เจ้าทำอย่างนี้ ที่เหยียบย่ำเข้ามาในบริเวณพระนิเวศของเรา อย่านำเครื่องถวายอนิจจังมาอีกเลย เครื่องบูชาอันเป็นสิ่งน่าเกลียดน่าชังต่อเรา วันเทศกาลข้างขึ้นและวันสะบาโตและการเรียกประชุม เราทนต่อความบาปชั่วและการประชุมตามพิธีไม่ได้อีก ใจของเราเกลียดวันเทศกาลข้างขึ้นของเจ้าและวันเทศกาล ตามกำหนดของเจ้า มันกลายเป็นภาระแก่เรา เราแบกเหน็ดเหนื่อยเสียแล้ว เมื่อเจ้ากางมือของเจ้าออก เราจะซ่อนหน้าของเราเสียจากเจ้า แม้ว่าเจ้าจะอธิษฐานมากมาย เราจะไม่ฟัง มือของเจ้าเปรอะไปด้วยโลหิต จงชำระตัว จงทำตัวให้สะอาด จงเอากรรมชั่วของเจ้าออกไปให้พ้น จากสายตาของเรา จงเลิกกระทำชั่ว จงฝึกกระทำดี จงแสวงหาความยุติธรรม จงบรรเทาผู้ถูกบีบบังคับ จงป้องกันให้ลูกกำพร้าพ่อ จงสู้ความเพื่อหญิงม่าย (อิสยาห์ 1:10-17)

และองค์พระผู้เป็นเจ้าตรัสว่า “เพราะชนชาตินี้เข้ามาใกล้ด้วยปากของเขา และให้เกียรติเราด้วยริมฝีปากของเขา แต่เขาให้จิตใจของเขาห่างไกลจากเรา เขายำเกรงเราเพียงแต่เหมือนเป็นบัญญัติของมนุษย์ที่ท่องจำกันมา เพราะฉะนั้น ดูเถิด เราจะกระทำ สิ่งมหัศจรรย์กับชนชาตินี้อีก ประหลาดและอัศจรรย์ สติปัญญาของคนมีปัญญาของเขาจะพินาศไป และความเข้าใจของคนที่เข้าใจจะถูกปิดบังไว้” (อิสยาห์ 29:13-14)

“ข้าพเจ้าจะนำอะไรเข้ามาเฝ้าพระเจ้า และกราบไหว้พระเจ้าเบื้องสูง ควรข้าพเจ้าเข้าเฝ้าพระองค์ด้วยเครื่องเผาบูชาหรือ ด้วยลูกวัวอายุหนึ่งขวบหลายตัวหรือ พระเจ้าจะทรงพอพระทัยการถวายแกะเป็นพันๆตัว และธารน้ำมันหลายหมื่นสายหรือ ควรที่ข้าพเจ้าจะถวายบุตรหัวปีชำระการ ทรยศของข้าพเจ้าหรือ คือถวายลูกของข้าพเจ้าชำระบาปแห่งวิญญาณของข้าพเจ้า” มนุษย์เอ๋ย พระองค์ทรงสำแดงแก่เจ้าแล้วว่าอะไรดี และพระเจ้าทรงมีพระประสงค์อะไรจากเจ้า นอกจากให้กระทำความยุติธรรมและรักสัจกรุณา และดำเนินชีวิตด้วยความถ่อมใจไปกับพระเจ้าของเจ้า (มีคาห์ 6:6-8)

“เราเกลียดชัง เราดูหมิ่นบรรดาวันเทศกาลของเจ้า และไม่ชอบในการประชุมตามเทศกาลของเจ้าเลย แม้ว่าเจ้าถวายเครื่องเผาบูชาและธัญญบูชาแก่เรา เราก็ไม่ยอมรับสิ่งเหล่านี้ และศานติบูชาด้วยสัตว์อ้วนพีของเจ้านั้น เราจะไม่มองดู จงนำเสียงเพลงของเจ้าไปเสียจากเรา เราจะไม่ฟังเสียงพิณใหญ่ของเจ้า แต่จงให้ความยุติธรรมหลั่งไหลลง อย่างน้ำ และให้ความชอบธรรมเป็นอย่างลำธารที่ไหลอยู่เป็นนิตย์ “โอ พงศ์พันธุ์อิสราเอลเอ๋ย เจ้าได้นำเครื่องบูชาถวายแก่เราในถิ่นทุรกันดารสี่สิบปีหรือ เจ้าทั้งหลายจะหามสัคคูทกษัตริย์ของเจ้า และไควันดาวที่เป็นเจ้าของเจ้า รูปเคารพทั้งสองของเจ้าซึ่งเจ้าได้ทำไว้สำหรับตัวเจ้าเอง เพราะฉะนั้น เราจะนำเจ้าให้ไปเป็นเชลย ณ ที่เลยเมืองดามัสกัสไป” พระเยโฮวาห์ ซึ่งทรงพระนามว่าพระเจ้าจอมโยธา ตรัสดังนี้แหละ (อาโมส 5:21-27)

“โอ อยากให้มีสักคนหนึ่งในพวกเจ้าซึ่งจะปิดประตูเสีย เพื่อว่าเจ้าจะไม่ก่อไฟบนแท่นบูชาของเราเสียเปล่า พระเจ้าจอมโยธาตรัสว่า เราไม่พอใจเจ้าและเราจะไม่รับเครื่องบูชาจากมือของเจ้า” (มาลาคี 1:10)

เสียงร้องจากใจของพระวจนะข้อนี้ แสดงให้เราเห็นว่าพระเจ้าทรงมีพระทัยให้อิสราเอลเชื่อฟังพระองค์ด้วยความรัก ที่มีให้พระองค์ ตรงนี้อย่าเข้าใจผิดนะครับ พระเจ้าทรงมีพระทัยให้อิสราเอลเชื่อฟังพระองค์ด้วยความรักที่พวกเขามีให้ พระองค์ พระองค์ไม่ได้แค่หวังให้เขาทำตามตัวอักษรในธรรมบัญญัติ อย่างที่คำพยานของผู้เผยพระวจนะบ่งไว้ เมื่อพวกเขาเชื่อว่าพวกเขาเป็นผู้ชอบธรรมจริงเพราะทำตามตัวอักษรของธรรม บัญญัติ มาลาคีจึงพูดกับพวกเขาว่า “พวกเขาดูหมิ่นโต๊ะของพระเจ้า” พวกเขาตอบว่า “อย่างไรล่ะ? เราก็นำของมาถวายบนโต๊ะแล้ว” มาลาคีตอบว่า “และในใจเจ้าก็บอกว่าอ่อนระอาใจ” พวกเขารักษาตามที่ธรรมบัญญัติสั่ง แต่จิตใจเอาไปขายที่ในตลาดมืดแล้ว

น่าเศร้า หลายสิบปีในถิ่นทุนกันดารไม่ได้ช่วยรักษาโรคบาปของชนชาตินี้ ที่จริง แม้จะกำจัดรูปเคารพออกไปได้ แต่กลับผลักพวกเขาจมลึกลงไปในพิธีกรรมเพื่อรักษาธรรมบัญญัติ พวกเขามองข้ามความจริงจากพระวจนะในมาลาคีหมดสิ้น พวกเขาตระหนักดีว่าพระเจ้าจะลงโทษถ้าไม่ทำตามพระบัญญัติ ถึงขั้นยกระดับขึ้นเท่าเทียมกับพระเจ้า และรักษาเอาไว้ตามมาตรฐานที่กำหนดขึ้นมาเอง

ประเด็นไม่ใช่ว่าพวกเขาทำให้ธรรมบัญญัติทำตามได้ง่ายขึ้น เพราะธรรมบัญญัตินั้นทำตามได้อยู่แล้ว สังเกตให้ดี สมบูรณ์แบบด้วยกำลังของตนเองไม่อาจทำได้ แต่พระเจ้าได้จัดเตรียมหนทางให้ “ภายใน” ธรรมบัญญัติ หนทางสำหรับความไม่สมบูรณ์แบบของอิสราเอลด้วยพระคุณที่เข้ามาปกคลุมไว้ – การยอมเป็นเครื่องถวายบูชา โมเสสจึงสามารถพูดในเฉลยธรรมบัญญัติ 30:11-14:

11 “เพราะว่าพระบัญญัติซึ่งข้าพเจ้าบัญชาท่านในวันนี้ สำหรับท่านไม่ยากเกินไป และไม่ห่างเหินเกินไปด้วย 12 มิใช่พระบัญญัตินั้นอยู่บนสวรรค์ แล้วท่านจะกล่าวว่า ‘ใครจะแทนเราขึ้นไปบนสวรรค์และนำมาให้เรา และกระทำให้เราได้ฟังและประพฤติตาม’ 13 มิใช่อยู่พ้นทะเล ซึ่งท่านจะกล่าวว่า ‘ใครจะข้ามทะเลไปแทนเราและนำมาให้เรา และกระทำให้เราได้ฟังและประพฤติตาม’ 14 แต่ถ้อยคำนั้นอยู่ใกล้ท่านทั้งหลายมาก อยู่ในปากของท่าน และอยู่ในใจของท่าน ฉะนั้นท่านจึงกระทำตามได้” (เฉลยธรรมบัญญัติ 30:11-14)

พระเจ้าตั้งพระทัยให้อิสราเอลรักษาธรรมบัญญัติ หมายถึงพยายามทำให้ได้ตามมาตรฐานของพระบิดา ยอมถ่อมใจลง และร้องขอพระคุณแห่งการให้อภัยของพระเจ้าเมื่อคุณทำบาปทั้งตั้งใจหรือไม่ ตั้งใจก็ตาม

ปัญหาไม่ใช่ว่าพวกฟาริสีทำให้ธรรมบัญญัติทำตามได้ง่ายขึ้น แต่พวกเขาปรับเปลี่ยนมาตรฐานในการประเมินความชอบธรรมเสียใหม่ ขณะที่ในธรรมบัญญัติมาตรฐานนั้นมาจากพระเจ้าพระบิดา (เลวีนิติ 19:2): “…เจ้าทั้งหลายต้องบริสุทธิ์ เพราะเราพระเยโฮวาห์พระเจ้าของเจ้า เป็นผู้บริสุทธิ์”6 พวกฟาริสีกล่าวว่า “ไม่หรอก เราจะตัดสินใจเองว่าบริสุทธิ์แปลว่าอะไร และเราตัดสินใจว่าแค่ถือตามธรรมบัญญัติก็พอ”

เราเห็นนัยนี้ในพระคัมภีร์ใหม่ ที่พระเยซูตรัสใน ลูกา 18:9: “สำหรับบางคนที่ไว้ใจในตัวเองว่าเป็นคนชอบธรรม และได้ดูหมิ่นคนอื่นนั้น พระองค์ตรัสคำอุปมานี้”

คนพวกนี้หาความชอบธรรมให้ตนเอง คำจำกัดความยิ่งใหญ่สำหรับคนพวกนี้คือมัทธิว 23 พวกเขานำธรรมบัญญัติโมเสสมายกระดับการถือรักษาขึ้นให้ไปตามมาตรฐานความชอบ ธรรม และนอกจากถือรักษาแล้ว ยังสร้างกรอบประเพณีเข้าไปล้อมไว้ด้วย ซึ่งที่จริงคือหลบเลี่ยงไม่ทำตามที่ธรรมบัญญัติกำหนดไว้

ไม่มีที่ไหนเห็นชัดเท่ากับการโต้แย้งกันเรื่องโกระบาน ในมาระโก 7:5-11:

พวกฟาริสีกับพวกธรรมาจารย์จึงทูลถาม พระองค์ว่า “ทำไมพวกสาวกของท่านไม่ประพฤติตามคำสอนที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ แต่รับประทานอาหารด้วยมือเป็นมลทิน” พระองค์ตรัสตอบเขาว่า “อิสยาห์ได้พยากรณ์ถึงพวกเจ้าคนหน้าซื่อใจคด ก็ถูกตามที่ได้เขียนไว้ว่า ประชาชนนี้ให้เกียรติเราแต่ปาก ใจของเขาห่างไกลจากเรา เขานมัสการเราโดยหาประโยชน์มิได้ ด้วยเอาบทบัญญัติของมนุษย์มาตู่ว่าเป็นพระดำรัสสอนของพระเจ้า เจ้าทั้งหลายละธรรมบัญญัติของพระเจ้า และกลับไปถือตามถ้อยคำของมนุษย์ที่เขาสอนต่อๆกันมานั้น” พระองค์ตรัสแก่เขาว่า “เหมาะจริงนะ ที่เจ้าทั้งหลายได้ละทิ้งธรรมบัญญัติของพระเจ้า เพื่อจะได้ถือตามคำสอนที่ตนรับมาจากบรรพบุรุษ เพราะโมเสสได้สั่งไว้ว่า ‘จงให้เกียรติบิดามารดาของเจ้า’ และ ‘ผู้ใดประณามบิดามารดาจะต้องมีโทษถึงตาย’ แต่พวกเจ้ากลับสอนว่า ‘ผู้ใดจะกล่าวแก่บิดามารดาว่า “สิ่งใดของข้าพเจ้าซึ่งอาจเป็นประโยชน์แก่ท่าน สิ่งนั้นเป็นโกระบาน'” (แปลว่าเป็นของถวายแด่พระเจ้าแล้ว) (มาระโก 7:5-11)

อะไรคือความชอบธรรมของพวกธรรมาจารย์และฟาริสี? ความชอบธรรมที่มีไว้ให้ตนเอง เป็นความชอบธรรมในแบบของมนุษย์ เป็นการนำความชอบธรรมของพระเจ้าลงมา ปรับรสชาตด้วยน้ำตาลเทียม มันหวานก็จริง แต่มันทำลายจิตวิญญาณของคุณ

พระเยซูทรงทำอย่างไร? ทรงให้สาวกของพระองค์เรียนรู้ถึงความชอบธรรมในแบบที่ต้องเป็นตามลักษณะ “ความชอบธรรม” ที่แตกต่าง ต้องดีกว่าแบบของพวกธรรมาจารย์และฟาริสี – ต้องดีแบบไหน? ต้องผุดขึ้นมาจากจิตใจ

พระเยซูทรงบอกบาเรียนหนุ่มในมัทธิว 22:37: “พระเยซูทรงตอบเขาว่า “จงรักพระองค์ผู้เป็นพระเจ้าของเจ้าด้วยสุดใจสุดจิตของเจ้า และด้วยสิ้นสุดความคิดของเจ้า” ทำไม พระเยซูทรงให้บัญญัตินี้เป็นบัญญัติข้อใหญ่? เพราะถ้าใจถูกต้อง สิ่งที่ออกมาจะเป็นชีวิตที่พอพระทัยพระเจ้า อย่างที่พระเยซูตรัสในมัทธิว 15:18 “แต่สิ่งที่ออกจากปากก็ออกมาจากใจ สิ่งนั้นแหละทำให้มนุษย์เป็นมลทิน”

ยากอบ น้องชายพระเยซู นำแนวคิดนี้ไปใส่ไว้ในหนังสือเล่มเล็กของท่านเมื่อพูดถึงความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อและการงาน

แต่จะเห็นว่านี่เป็นเสียงเรียกร้องจากผู้เผยพระวจนะเช่นกัน :

“พระเจ้าตรัสว่า ดูเถิด วันเวลาจะมาถึง ซึ่งเราจะทำพันธสัญญา ใหม่กับประชาอิสราเอลและประชายูดาห์ ไม่เหมือนกับพันธสัญญาซึ่งเราได้กระทำกับบรรพบุรุษของเขาทั้งหลาย เมื่อเราจูงมือเขาเพื่อนำเขาออกมาจากแผ่นดินอียิปต์ เป็นพันธสัญญาของเราซึ่งเขาผิด ถึงแม้ว่าเราได้เป็นสามีของเขา พระเจ้าตรัสดังนี้แหละ แต่นี่จะเป็นพันธสัญญาซึ่งเราจะกระทำกับประชาอิสราเอลภายหลังสมัยนั้น พระเจ้าตรัสดังนี้แหละ เราจะบรรจุพระธรรมไว้ในเขาทั้งหลาย และเราจะจารึกมันไว้บนดวงใจของเขาทั้งหลาย และเราจะเป็นพระเจ้าของเขา และเขาจะเป็นประชากรของเรา” (เยเรมีย์ 31:31-33)

“เราจะให้ใจใหม่แก่เจ้าและเราจะบรรจุ จิตวิญญาณใหม่ไว้ในเจ้า เราจะนำใจหินออกไปเสียจากเนื้อของเจ้า และให้ใจเนื้อแก่เจ้า และเราจะใส่วิญญาณของเราภายในเจ้า และกระทำให้เจ้าดำเนินตามกฎเกณฑ์ของเรา และให้รักษากฎหมายของเราและกระทำตาม” (เอเสเคียล 36:26-27)

สรรเสริญพระเจ้าที่เราได้รับความรอด พระเยซูทรงทำสิ่งนั้นสำเร็จลงที่บนกางเขน และบัดนี้พระองค์ทรงเรียกผู้เชื่อทั้งหลายให้ติดตามพระองค์ไป และให้การงานดีของเราส่องสว่างไปยังผู้อื่นเพื่อพระองค์จะได้รับพระสิริ

เราต้องถามตัวเองในฐานะผู้เชื่อที่อ้างว่าเป็นผู้ติดตามพระเยซู ชีวิตของเราแสดงถึงความชอบธรรมที่ออกมาจากใจหรือเปล่า หรือเราแค่หาความชอบธรรมให้ตัวเองโดยลดมาตรฐานของพระเจ้าลงแทนที่จะทำตามพระ บัญญัติ?

เมื่อเราขอบคุณพระเจ้าสำหรับอาหาร การขอบพระคุณนั้นมาจากใจที่สำนึกในการจัดเตรียมของพระเจ้า หรือเราแค่ทำในสิ่งที่คริสเตียนควรทำจะได้ไม่รู้สึกผิด?

เมื่อเรารับขนมปังในพิธีมหาสนิท เรากำลังระลึกถึงพระคริสต์จริงหรือ หรือเราแค่ทำในสิ่งที่คนในโบสถ์อื่นๆเขาทำกันในวันอาทิตย์?

เมื่อเราถวายทรัพย์ เราให้ด้วยความจริงใจหรือเปล่าว่าที่จริงแล้วทุกสิ่งที่เรามีเป็นของพระ เจ้า? เมื่อผมถวาย ผมไม่ได้ให้คืนกลับพระองค์จากบางส่วนที่พระองค์ให้มา ไม่เลย เมื่อผมถวาย ผมกำลังอารักขาทรัพย์ในแบบเดียวกับนายธนาคารจัดการกับบัญชีเงินฝาก

เมื่อเราปฏิเสธไม่ให้เงินช่วยคนจรจัด เพราะกลัวว่าเขาจะเอาไปซื้อเหล้า แต่กลับใช้เป็นข้ออ้างที่จะไม่ยอมให้เงินคนจน ผมต้องถามตัวเอง ผมกำลังตกลงไปในกับดักเดียวกับพวกฟาริสีหรือเปล่า?

เมื่อผมมองหาบาปหลายอย่างในชีวิตไม่เจอเพื่อจะได้สารภาพ ผมก็ละเลยความบาปของตนเอง แต่ก็สารภาพไปเผื่อว่ามี นี่เป็นการแสดงความเสียใจออกจากจิตใจหรือไม่?

ผมตบไหล่ตัวเองแล้วบอกว่าไม่เคยมีความคิดฆ่าพี่น้องบางคนในหัว แต่ยังกักเก็บความเกลียดชังที่มีต่อเขา ปฏิเสธไม่ยอมไปพูดด้วยตามที่พระคัมภีร์บอก แต่บอกตัวเองว่าไม่เป็นไร ไม่ได้ไปฆ่าเขาสักหน่อย

ผมให้ความเป็นธรรมอย่างสัตย์ซื่อหรือเปล่าในการเจรจาธุรกิจ เพราะลูกค้าไม่ใช่คริสเตียน? หรือไว้รอไปโบสถ์ก่อนค่อยสารภาพทีหลัง

ผมทำถูกหรือเปล่าที่ไม่ไปข้องเกี่ยวหรือมีส่วนร่วมกับพระกายของพระคริสต์ เพราะต้องให้ครอบครัวมาก่อน? ผมละเลยครอบครัวหรือเปล่าเพื่อให้ “งานของพระเจ้า” มาก่อน?

ความชอบธรรมสำหรับผมหน้าตาเป็นอย่างไรในมหาวิทยาลัย? ผมทำถูกหรือเปล่าที่ทำตัวร้ายๆไปกับพวกเขาแล้วพูดว่า “ที่ทำแบบนี้ เพื่อจะได้รู้จักพวกเขาให้ดียิ่งขึ้น เพื่อจะได้เป็นพยานกับพวกเขาได้?”

พี่น้องครับ เราคงมีคำถามแบบนี้ไม่จบไม่สิ้น แต่ทุกคนจะพบจุดศูนย์กลางในคำถามเดียว – ฉันรักพระเจ้าของฉันสุดจิตสุดใจ สุดกำลัง สุดความคิดหรือเปล่า? เพราะชีวิตแบบนั้นจะนำพระสิริยิ่งใหญ่ไปถึงพระองค์ เป็นความชอบธรรมที่มีแต่ดีขึ้นทางเดียว

ปิดท้ายด้วยคำพูดของนักวิชาการพระคัมภีร์ท่านหนึ่ง :

“ความชอบธรรมที่พระเยซูตรัส ไม่ใช่ความชอบธรรมของชีวิตที่มีเหนือความชอบธรรมแห่งความเชื่อ แต่ความชอบธรรมของชีวิตจะสำแดงถึงความชอบธรรมแห่งความเชื่อ คำเทศนาบนภูเขาเป็นการตั้งต้นการงานแท้จริงของความเชื่อในพระคริสต์ เทียบกับการงานในแบบอื่นๆ”7


1 172 ลิขสิทธิ์ของ- Copyright 2005 by Community Bible Chapel, 418 E. Main Street, Richardson, TX 75081 เป็นต้นฉบับที่ปรับใหม่ของบทเรียนต่อเนื่องของพระกิตติคุณมัทธิวบทที่ 18 จัดเตรียมโดยสตีเวน เอช ซานเชส 22 มิถุนายน 2003 สามารถนำไปใช้ในการศึกษาและการสอนได้เท่านั้น ทางคริสตจักร Community Bible Chapel เชื่อว่าข้อมูลในบทเรียนนี้เป็นจริงและถูกต้องตามพระวจนะในพระคัมภีร์ และไม่ได้หวงห้ามถ้าต้องการนำไปใช้เพื่อการศึกษา หรือสอนพระวจนะ (เป็นหนึ่งในพันธกิจของ Community Bible Chapel โดยพระคุณของพระเจ้า)

2 173 พระวจนะในภาษาอังกฤษนำมาจาก NET Bible, BETA 2, Biblical Studies Press, 1994, unless otherwise noted.

3 174 See D. A. Carson, “Matthew,” The Expositor’s Bible Commentary, Vol. 8 (Grand Rapids, Michigan: The Zondervan Corp., 1984), p 143, ดี เอ คาร์ลสัน มองว่าพระเยซูทรงทำให้ธรรมบัญญัติสมบูรณ์ในมุมที่ชี้มาที่พระองค์เหมือนคำ พยาการณ์

4 175 Leon Morris, The Gospel According to Matthew (Grand Rapids: Eerdmans, 1992) p. 108.

5 176 Isaiah 2:3; Psalms 25:4-5, 12; 27:11; 32:8; 34:11; 45:4; 51:13; 86:11; 90:12; 94:12; 105:22, 119; 132:12; 143:10; Jeremiah 31:34; Micah 4:2.

6 177 Leviticus 20:7, 26; 1 Peter 1:15-16.

7 178 R. C. H. Lenski, The Interpretation of St. Matthew’s Gospel (Minneapolis, Minnesota: Augsburg Publishing House, 1943).

Related Topics: Dispensational / Covenantal Theology

บทเรียนต่อเนื่องในพระกิตติคุณมัทธิว

Pages