MENU

Where the world comes to study the Bible

The Bible Teacher's Guide: God’s Battle Plan for Purity: Strategies for Victory against Sexual Temptation

Related Media

Preface

And the things you have heard me say in the presence of many witnesses entrust to reliable men who will also be qualified to teach others.
2 Timothy 2:2

Paul’s words to Timothy still apply to us today. We need to raise up teachers who correctly handle and fearlessly teach the Word of God. It is with this hope in mind that the Bible Teacher’s Guide (BTG) series has been created. The BTG series includes both expositional studies and topical studies. This guide will be useful for personal devotions, small groups, and for teachers preparing to share God’s Word.

Gods Battle Plan for Purity: Strategies for Victory against Sexual Temptation can be used as a four-week to thirteen-week small-group curriculum depending on how the leader chooses to divide the intro chapter and the twelve strategies. Every week, the members of the group will read a chapter or more, answer the questions, and come prepared to share in the gathering. Each member’s preparation for the small group will enrich the discussion and the learning. Another way to lead the group is for the members to read the chapter and answer the questions together during the small group and continue with the next strategy as time allows.

I pray that the Lord may richly bless your study and use it to build his kingdom.

This book is also available for purchase here on Amazon.

Related Topics: Christian Life, Marriage, Men's Articles, Sexual Purity, Sexuality, Singleness, Women

Made Beautiful: The True Story of Royal and Loyal Love

The birth of the universe set the stage for the history of the world in the drama of redemption, with God as its author, producer, and director. The carefully designed scenes reveal the genius, power, and goodness of their Maker, even as they reflect the curse provoked by the rebellion of their first inhabitants. And while Adam’s children enjoy the beauty of God’s creation and provision of good things, they dwell in deep spiritual darkness, the fruit of their apostasy.

In the fullness of time, however, the Light of the World pierced the gloom, taking center stage to rescue the object of His love. Disfigured and disgraced by sin, she was an unseemly and unsightly thing, an object of wrath, with nothing in her appearance, countenance or character to stir the affections of a holy God. Hopeless and helpless, she stood doomed to eternal death under the righteous judgment of her Creator. But that was about to change.

From a fountain of infinite goodness and mercy, overflowing with love for the unlovely, her noble Deliverer came with flesh to be broken and blood to be spilled to rescue His precious bride. He would meet her debt to love and obey her Maker with perfect fidelity, and pay to the full the penalty for her rebellion and adultery. Unlovely she would be made lovely, unworthy she would be made worthy, and naked she would be clothed in a regal gown of the Savior’s righteousness. As His bride she would radiate the beauty of His holiness, acquired for her at infinite cost that she might love and be loved, that she might adore Him who adored her from eternity.

As her Beloved left the earthly stage for a time to prepare their heavenly home, He sent the Pledge and Promise of His undying loyalty. The time passed quickly, and precious in His sight was the day her dying died and she arrived safely at her heavenly home. Fashioned and fit by the beauty of her Redeemer’s holiness, she was ready to take the hand of her Beloved. Hope stepped aside as the bride and Groom embraced to enjoy each other forever.

The old stage was replaced as the curtains parted to display the new, where holiness and happiness adorn every scene. Gone are the Sun, moon and stars by the light of God’s glory. New are the unending encores of a bride and Groom enraptured in their mutual love and beauty. Filled to overflowing forever will be the joy of the bride by the sight and embrace of the infinite excellence of her Savior, Husband, and God.

Related Topics: Devotionals

Ready For The Knock On Your Door

Article contributed by Stand To Reason
Visit Stand To Reason website

Related Media

Most of us have answered a knock on our door, only to discover a smiling, well-dressed couple—Watchtower publication in hand—standing on the other side, waiting to talk with us about the gospel according to the Jehovah’s Witnesses.

I used to dread these encounters. In fact, while they were introducing themselves, I’d be frantically thinking up excuses to get them off of my porch and out of my life.

I came to realize, though, that I avoided these conversations because I was not equipped to engage the Witnesses in a thoughtful way. They seemed to know their stuff. I didn’t. They trained for hours prior to our conversation. I hadn’t trained at all. I only knew what I believed. I had no idea why I believed it.

For instance, I’d try to make the case that Jesus is God (a doctrine they reject), yet had few good reasons to offer them to support my belief. To make matters worse, they had quick responses to my points they could recite at will. As a result, I’d leave the discussion feeling bested by the couple at my door and unsure about my own convictions. Many Christians have had the same experience, maybe even you.

Those awkward encounters are a thing of the past, though, because I have since learned some things that tip the scales in my favor, and I want to pass those ideas on to you so you don’t have to run for cover the next time Jehovah’s Witnesses knock on your door.

I want to give you some tools to help you make the greatest impact possible in your conservations with Jehovah’s Witnesses. To simplify the process, we’ll focus on a single issue, on one vital question: Who is Jesus?

Quote Their Bible, Not Yours

To start with, I want you to make a strategic move that will save you a lot of trouble in your conversations. Answering the question, “Who is Jesus?,” involves using straightforward passages of Scripture to make our case. Even though the Jehovah’s Witness Bible, the New World Translation (NWT), is actually mistranslated in a number of places to support their doctrines, it can still be used by us to effectively make our points.

Have the Jehovah’s Witness open their NWT and read aloud the passages you suggest to them. There are three reasons why this strategy works so well.

First, by using the translation they trust, it completely sidesteps unhelpful disputes about what the Bible says. Second, your argument will have a greater impact since you’re using a translation they’re comfortable with. I know I’m skeptical when I read a work from a competing religious group. Jehovah’s Witnesses are no different. They’ll have their guards up if you cite your translation, but not if you use their NWT. Third, Jehovah’s Witnesses won’t likely take literature that you offer them, but they will always have their NWT with them. If you show them the real Jesus using their own book, then they’ll never be without the truth.

Only One Question

A host of issues can get you sidetracked with Jehovah’s Witnesses if you’re not careful—soul sleep, celebrating birthdays or Christmas, blood transfusions, Heaven, Hell, war, even the Holy Spirit. Don’t go there. None of these are the most important issue. The goal of your conversation is to answer only one question: Who is Jesus? How you answer this question changes everything.

Jehovah’s Witnesses believe that the archangel Michael was the very first being in the universe created by Jehovah-God. Michael was then used by God to create the rest of the universe. Later, at the appointed time, Michael was born to the virgin Mary as a human being, thus ceasing to be an angel. Then after His spiritual resurrection, Jesus resumes His identity as Michael. That is the Jehovah’s Witness answer to the question, “Who is Jesus?” Jesus, is the archangel Michael incarnate.1

By contrast, Christians hold that Jesus is the eternal, second Person of the Trinity. Jesus wasn’t created by Jehovah-God; He is Jehovah-God. Christianity stands or falls on its view of Christ. If we can demonstrate that Jesus is Jehovah, then the high tower of the Jehovah’s Witness doctrine comes crashing down.

The salvation of anyone, including Jehovah’s Witnesses, depends on an accurate understanding of and belief in God the Son. Jesus said, “I told you that you would die in your sins, for unless you believe that I am He you will die in your sins” (Jn. 8:24).2 Here Jesus is claiming to be the “I AM” recorded in Isa. 43. The irony is that Isa. 43 is the chapter where Jehovah’s Witnesses derive their name. Isaiah writes, “You are my witnesses,” declares the Lord, “and my servant whom I have chosen, that you may know and believe me and understand that I am He” (Isa. 43:10).

Jehovah says His true witnesses will believe of Him that “I am He.” Yet, Jesus says true believers must believe of Him thatI am He.” In fact, this claim, coupled with Jn. 8:58 (“…before Abraham was, I am”), was the reason the Jews tried to stone Jesus (Jn. 8:59). His point was clear: Rejecting Jesus’ deity is rejecting salvation itself. That’s why our question, “Who is Jesus?,” is the only question we should focus on.

What’s in a Name?

There are many convincing arguments for the deity of Christ in the Bible. You want to be as strategic as possible, though, when a Jehovah’s Witness is standing at your door. Our general goal is to get them thinking—to put a stone in their shoe, so to speak. We want them walking away pondering an important point we’ve made. That won’t work if we trot out standard verses for Christ’s deity like Jn. 1:1 and Jn. 20:28. Jehovah’s Witnesses have heard those verses countless times. They’ll be waiting for you with well-rehearsed responses. They’re trained to answer these challenges without even thinking.

We need a different strategy. I’m not saying to never use Jn. 1:1 or Jn. 20:28. They offer clear support for Jesus’ deity and should be used. Just don’t start with them. Make your visitors think through some other passages first, verses they probably haven’t considered and haven’t been trained to respond to.

Our basic strategy is to demonstrate that Jesus is identified as Jehovah. If we can show that Jesus is Jehovah, then the Jehovah’s Witness belief system comes crashing down. So here’s the question: Is Jesus ever identified with Jehovah?

The simple answer to this question is, yes. You may be thinking, “What is so special about Jesus being recognized as Jehovah? Well, this requires some background information. The proper name for God in the Hebrew Bible is YHWH. This divine name is called the tetragrammaton, which means “four-letters.” The tetragrammaton was so sacred to ancient Jews that the name was never written in full, or even spoken. In fact, Jews for centuries would substitute the divine name with the name Adonai. This led to confusion over exactly how the divine name should be pronounced.

Eventually, Jews began to place the vowels from Adonai (a-o-a) between the consonants YHWH. The result was Yahowah, or Jehovah. So the name Jehovah turns out to be a man-made construction, rather than a biblical term.3

Jesus Is Jehovah

With these preliminary issues out of the way, let’s dive into a persuasive argument showing Jesus is Jehovah. It involves two straightforward passages of Scripture, one from the New Testament, and one from the Old Testament. All you have to do is connect these passages together.

Ask your visitors to take out their NWT and turn to Ps. 102:25-27. The psalmist writes,

Long ago you laid the foundations of the earth,
And the heavens are the work of your hands.
They will perish, but you will remain.
Just like a garment they will all wear out.
Just like clothing you will replace them, and they will pass away.
But you are the same, and your years will never end. (NWT)

There are two key questions you need to ask about this passage. First, who is this text about, that is, who does the “you” in the passage refer to? Make sure you get a clear answer. If they are paying attention to the context, they’ll recognize that this text is about Jehovah. The first verse of the Psalm declares, “O Jehovah, hear my prayer. Let my cry for help reach you….” This entire Psalm is actually a short prayer to Jehovah. Indeed, David uses Jehovah’s name seven times in the Psalm. Clearly, the who in the passage is Jehovah.

Second, how is Jehovah described in this text? We are told Jehovah created the heavens and the earth (v. 25), that He does not change—Jehovah is immutable (v. 26-27)—and that Jehovah is eternal (v. 27). He is, therefore, the unique, eternal, changeless, creator God.

Once you have agreement on these points (which should not be at all controversial for the Jehovah’s Witness), kindly ask your guests to turn in their NWT to Heb. 1:10-12. Before you jump right in, though, it’s important to first establish the context. Apologist Ron Rhodes writes:

You might want to point out that the whole focus of Hebrews 1-3 is to demonstrate the superiority of Jesus Christ—including His superiority over the prophets (1:1-4), the angels (1:5-2:18), and Moses (3:1-6). How is this superiority demonstrated? Christ is shown to be God’s ultimate revelation (1:1); He is affirmed as the Creator and Sustainer of the universe (1:2-3); and He is said to have the very nature of God (1:3).4

In verse 5, we read, “For to which of the angels did God ever say, ‘You are my Son, today I have begotten you’?” The obvious answer to this hypothetical question is that God never said that to any angel. Rather, in Mark 1:11, God says to Jesus, “You are my beloved Son; with You I am well pleased.” This rules out the false doctrine taught by the Watchtower that Jesus is the archangel Michael. Heb. 1 has more to say, though, in v. 6-8:

But when he again brings his Firstborn into the inhabited earth, he says: “And let all of God’s angels do obeisance to him.” Also, he says about the angels: “He makes his angels spirits, and his ministers a flame of fire.” But about the Son, he says: “God is your throne forever and ever, and the scepter of your Kingdom is the scepter of uprightness.” (NWT)

Clearly, these verses are speaking about the Son. It’s tempting at this juncture to point out that with other translations in verse 8 the Father says to the Son, “Your throne, O God” (ESV), instead of the NWT’s, “God is your throne.” Also, in verse 6 every modern translation says the angels worship the Son. The NWT translates that word obeisance to preserve their anti-Trinitarian doctrine.

Never mind. Let that all go for now. Instead, look closely at the beginning of verse 8, “But about the Son, He says….” So, God is talking about the Son in verses 8 and 9. Now, still talking about the Son, the author continues in Heb. 1:10-12:

And: “At the beginning, O Lord, you laid the foundations of the earth, and the heavens are the works of your hands. They will perish, but you will remain; and just like a garment, they will all wear out, and you will wrap them up just as a cloak, as a garment, and they will be changed. But you are the same, and your years will never come to an end,” (NWT)

Do you recognize these words? They are taken directly from Ps. 102:25-27. Remember that our Jehovah’s Witness friend has already agreed that the description in the Psalm is of the eternal, changeless, creator Jehovah. The “you” in the Psalm is God. Yet, the author of Hebrews, under the inspiration of the same Holy Spirit, clearly attributes these same attributes to the Son. The “you” in Heb. 1:10-12 is Jesus. Therefore, Jesus is being identified with Jehovah. So, is Ps. 102:25-27 about Jesus, or is it about Jehovah? The answer is, yes, because Jesus is Jehovah.

Responding to Rejoinders

I’ve used this argument on Jehovah’s Witnesses and have yet to receive a reasonable response. In many instances, my guests had no answer to the argument at all. Of course, that doesn’t mean they had nothing to say. There are three basic responses you will likely hear after presenting this argument: a dodge, a downplay, or a distortion.

The first and most common response is to dodge the argument by citing other passages they think teach that Jesus is the first created being. It may be helpful at this point to narrate the discussion. Graciously point out that they have not adequately responded to your specific argument. You might want to say something like this:

I’d love to talk about the interpretation of some of these other passages with you, but before we move forward, I want to get your thoughts on the argument I’ve already presented. If you don’t have a response or need some time to think about it, I’m fine with that. But as it stands right now it looks like the author of Hebrews provides a powerful argument for Jesus being identified as Jehovah.

If your guests need more time, then give it to them. Don’t be a unpleasant and act like you’ve got them in a corner. Our aim is to get them thinking. We’re putting a stone in their shoe. When they agree to think about it, you’ve accomplished your goal. This might be a good time to schedule another visit so you can follow up on this argument.

The second response I’ve encountered is to downplay the attributes in Heb. 1 to fit the description of a created creature. But this simply will not work because the same attributes in this passage are used to describe Jehovah. Are we to believe that the infinite God of the universe is being described in the same terms as a mere creature? Ps. 102 is not the description of a created, finite, changing creature; rather, it is a description of the eternal, unchanging Creator. The only honest way to make sense of these two passages is to affirm that Jesus and Jehovah are the same.

Jehovah’s Witnesses believe the archangel Michael changed from an angel into a human named Jesus. Then, after Jesus’ death and resurrection, he changed back to Michael again. This is a substantial alteration of one’s being, to say the least. This certainly is not the immutable Being described in Ps. 102 or Heb. 1. The Christian view is not vulnerable to this charge, since we teach that the Second Person of the Godhead added a human nature without altering His immutable divine nature.

Third, sometimes a Jehovah’s Witness will resort to distorting the argument. I’ve had a few take me back to Hebrews 1:8-9.

But of the Son he says, “Your throne, O God, is forever and ever, the scepter of uprightness is the scepter of your kingdom. You have loved righteousness and hated wickedness; therefore God, your God, has anointed you with the oil of gladness beyond your companions.” (ESV)

The Jehovah’s Witness might point out that this quote from Psalm 45:6-7 is about Solomon. The author of Hebrews takes a passage about Solomon and applies it to Jesus. Does this prove, then, they ask, that Jesus is Solomon? If not, then the application of Psalm 102 to Jesus does not prove He is Jehovah.

This response, though, distorts our argument. Psalm 45 shows that, since Solomon was a type of Christ, then some things true of Solomon will also be true of Christ. Ps. 102 also teaches that some things true of Jehovah are likewise true of Christ. But that is not because Jehovah is a type of Christ. It is because Jehovah is Christ, evidenced by the unique, divine characteristics they both share—eternality, immutability, etc. That’s the point being distorted.

The approach I’ve outlined for you can have a powerful impact on your guests.5 Don’t be surprised, though, if they don’t convert right there on your doorstep. These things take time. Plus, it’s not our job to convict or to convert, but to speak with grace and let the Holy Spirit do the rest. Only God can lift the Watchtower’s veil of darkness that obscures the truth from Jehovah’s Witnesses. Your job is to communicate the truth as clearly and persuasively as possible, then let God use His truth to set people free.


1 Ron Rhodes, Reasoning from the Scriptures with the Jehovah’s Witness ­(Eugene, OR: Harvest House, 2009), 173-174.

2 All Bible passages are taken from the ESV unless otherwise stated

3 Ron Rhodes, 50-51.

4 Ibid., 178.

5 This same approach can be used with a number of passages from the Old testament referring to Jehovah that are applied in the New Testament to Jesus.  For example: Gen. 1:1, Is. 45:18 vs. Jn. 1:1-3; Is. 45:23 vs. Phil. 2:9-11; Is. 45:21 vs. Acts 4:10-12, Jn 4:14; Is. 44:6 vs. Rev. 1:17; and many others like this.

Related Topics: Apologetics, Cults/Magic

1. ต้นกำเนิดพระเยซูคริสต์ (มัทธิว 1:1-25)

Related Media

คำนำ1

เราทุกคนคุ้นเคยกับถ้อยคำที่แตะต้องใจจากปลายปากกาของ อ.เปาโลเป็นอย่างดี :

พระคัมภีร์ (ทุกตอนได้รับการดลใจจากพระเจ้า และ) เป็นประโยชน์ในการสอน การตักเตือนว่ากล่าว การปรับปรุงแก้ใข คนให้ดี และการอบรมในทางธรรม เพื่อคนของพระเจ้า จะพรักพร้อมที่จะกระทำการดีทุกอย่าง (2 ทิโมธี 3:16-17)2

แต่พอมาถึงพระกิตติคุณมัทธิว 1:1-17 เราเหมือนถูกทดสอบต่อคำพูดของ อ.เปาโลในทันที พวกเรากี่คนกันที่เห็นว่า ลำดับพงศ์พันธ์ ตามที่บันทึกในพระคัมภีร์ “มีประโยชน์” หรือ “มีสาระสำคัญ” สำหรับเรา? พูดตามตรงนะครับ พออ่านมาถึงเรื่องลำดับพงศ์พันธ์ มีความรู้สึกอยากข้ามไปทุกที แต่เมื่ออดทนอ่าน (เวลาอ่านทั้งเล่ม) ผมมักสงสัยว่าผมได้อะไรจากเรื่องลำดับพงศ์พันธ์นี้

ผมชอบเข้าข้างตัวเอง คิดเอาว่าเรื่องลำดับพงศ์พันธ์นั้น “น่าเบื่อ” และ “ไม่เกิดประโยชน์” สู้พระวจนะตอนอื่นๆไม่ได้ แต่พออ่านบทแรกของมัทธิว รู้สึกทึ่งครับ ลองคิดดู : พระกิตติคุณมัทธิวเป็นหนังสือเล่มแรกของพระคัมภีร์ใหม่ แต่เริ่มต้นด้วยลำดับพงศ์พันธ์ของพระเยซูคริสต์ แปลว่าหนังสือเล่มนี้มีบทนำ เริ่มด้วยการพูดถึงลำดับวงศ์ตระกูล แถมยังเป็นบทนำของหนังสือเล่มแรกของพระคัมภีร์ใหม่ทั้งหมดด้วย

ตามปกติ เวลาเทศนาผมมักมีปัญหาทุกครั้ง เพราะต้องหาเรื่องเล่า เพื่อนำร่องเข้าสู่คำเทศนา ผมพยายามหาเรื่องที่ดึงความสนใจผู้ฟัง เพื่อโยงเข้าสู่พระวจนะตอนที่จะใช้เทศนาให้ลื่นไหลไปอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เป็น นักเทศน์มา ไม่เคยเลยสักครั้ง ที่จะเกริ่นนำการเทศนา ด้วยเรื่องลำดับพงศ์พันธ์

เนื่องจากผมและมัทธิว มีแนวคิดที่แตกต่างกัน จึงขอบอกว่าผมเองเป็นฝ่ายพลาด ไม่ใช่ผู้ที่ได้รับการดลใจจากพระเจ้าอย่างท่านมัทธิว ผู้เขียนหนังสือมหัศจรรย์เล่มนี้ ทำให้ต้องกลับมาทบทวนใหม่ ว่าทำไมมัทธิวถึงเห็นว่า การนำเรื่องลำดับพงศ์พันธ์ขึ้นมาเกริ่นนั้นน่าสนใจ ในขณะที่ผมกลับเห็นเป็นตรงข้าม บทเรียนตอนนี้ ผมจะพยายามหาข้อมูลมาสนับสนุนเรื่องบทนำของมัทธิว เราผู้เชื่อทั้งใหม่และเก่าจะได้รับ “ประโยชน์” ใด จากลำดับพงศ์พันธ์นี้

เวลาอ่าน “คำเทศนาบนภูเขา” หรือคำอุปมาเรื่องใดเรื่องหนึ่งในพระกิตติคุณมัทธิว แน่นอน เรารู้สึกว่าน่าสนใจกว่าเรื่องลำดับพงศ์พันธ์ในมัทธิว 1:1-17 แต่บางครั้งเรื่องที่เราว่าไม่น่าสนใจนี้ กลับกลายเป็นเรื่องที่มีประโยชน์มหาศาลในชีวิตจริง เรารู้อยู่ว่าเรื่องวงศ์ตระกูลเป็นเรื่องสำคัญ สมมุติว่าผมอยากหาซื้อหมาดีๆสักตัว เรื่องแรกที่ต้องคิด คือสายพันธ์ของมัน (เพ็ดดิกรี) ผมต้องอยากรู้ว่าในสายพันธ์ของมัน มีใครเป็นแชมเปี้ยนบ้าง หรือสมมุติว่าผมอ่านเจอในหนังสือพิมพ์ ว่ามีเศรษฐีชื่อนายเดฟฟินบาวว์ (ผู้เขียน) ตายโดยไม่มีทายาทรับมรดก แน่นอน ผมต้องอยากรู้ที่มาที่ไปของนายคนนี้ มีลูกหลานหลายคน ใช้เวลาทุ่มเทสืบเสาะ ค้นหาต้นตระกูลของตน มีเหตุผลหลายประการ ที่ทำไมคนเราถึงอยากรู้รากเหง้าของต้นตระกูลตัวเอง

เรื่องลำดับพงศ์พันธ์เป็นเรื่องสำคัญมากสำหรับคนยิว กษัตริย์อิสราเอลต้องเป็นยิว ไม่ใช่คนต่างชาติจากที่ไหนก็ได้ (ฉธบ. 17:15) ต่อมามีการเปิดเผยว่า ต้องเป็นยิวที่สืบเชื้อสายมาทางดาวิดเท่านั้น (2 ซามูเอล 7:14) เมื่อชาวยิว อพยพกลับจากการเป็นเชลยที่บาบิโลน เรื่องสำคัญที่ต้องรีบทำคือ แสดงตนว่าเป็นชาวยิวแท้ สามารถสืบประวัติย้อนกลับไปต้นตระกูลได้ คนจะรับตำแหน่งปุโรหิตได้ ต้องมีชื่อบันทึกอยู่ในลำดับพงศ์พันธ์ (เอสรา 2:62) นักเขียน ชื่อบรูเนอร์ เล่าให้ฟังว่า รับไบฮีเลล (Rabbi Hillel) มีความภูมิใจมากที่สามารถสืบเสาะ ย้อนกลับไปไกลถึงต้น ตระกูลของท่าน – กษัตริย์ดาวิด – บรูเนอร์ยังเล่าอีกว่าโจเซฟัส เริ่มเขียนชีวประวัติของตนเองด้วยเรื่องวงศ์ตระกูล ต่อมากษัตริย์เฮโรดผู้ยิ่งใหญ่ เป็นลูกครึ่งยิว-เอโดม แน่นอนชื่อและลำดับพงศ์พันธ์ของท่านคงไม่มีการบันทึกไว้เป็นทางการ แต่ก็ยังมีคำสั่งให้ทำลายบันทึกนั้น เพราะถ้าไม่มีชื่อของท่านปรากฏอยู่ ท่านคงรู้สึกเสียหน้า ไม่อยากให้ใครมารู้ปูมหลังได้ 3

ข้อแตกต่างในการบันทึกลำดับพงศ์พันธ์ของพระเยซู

เรารู้ว่าในหนังสือพระกิตติคุณ ลำดับพงศ์พันธ์ของพระเยซูคริสต์มีบันทึกไว้สองแบบ แบบแรกพบได้ใน มัทธิวบทที่ 1 แบบที่สองอยู่ในพระกิตติคุณลูกา 3:23-38 มัทธิวแบ่งเรื่องลำดับพงศ์พันธ์ออกเป็นสามช่วง เริ่มจากอับราฮัมก่อน แล้วต่อลงมาเรื่อยๆ จนจบลงที่องค์พระเยซูคริสต์ ส่วนลูกาเริ่มที่องค์พระเยซูคริสต์ก่อน แล้วย้อน กลับขึ้นไปจนถึงอาดัม ผู้เป็น “บุตรพระเจ้า”

ข้อแตกต่างโดยรวมอยู่ที่ตรงรูปแบบ แต่มีบางชื่อในลำดับพงศ์พันธ์ของทั้งสองแตกต่างกัน :

ความยากอยู่ที่ตอนแรกของลูกา ซึ่งใช้ชื่อต่างกับของมัทธิว คงไม่เป็นปัญหา ถ้าเรากำลัง ศึกษาเรื่องราวของบุคคลสองคน แต่ว่าลำดับพงศ์พันธ์ทั้งสองเป็นเรื่องของพระเยซูคริสต์ นอกจากนั้น ทั้งสองเล่มใช้ทางสายของโยเซฟ สามีนางมารีย์ ผู้ทำหน้าที่เป็นบิดา-มารดาของพระองค์ที่บนโลก มัทธิวกล่าวว่าโยเซฟเป็นบุตรของยาโคบ ที่สืบเชื้อสายมาจากดาวิด โดยทางบุตรของดาวิด ที่สืบต่อๆมาทางสายของซาโลมอน (มัทธิว 1:16) และลูกากล่าวว่า โยเซฟเป็นบุตรของเฮลี ที่สืบเชื้อสายมาจากดาวิด โดยทางนาธัน ผู้เป็นบุตรของดาวิดเหมือนกัน เป็นพี่น้องกับซาโลมอน (ลูกา 3:23)4

ขณะที่หลายคนสรุปว่าปัญหานี้ยังหาทางออกไม่ได้ อีกหลายต่อหลายคนคิดอีกแบบ เจมส์ มอนท์โกเมอรี่ บอยส์ เขียนถึงความเป็นไปได้ออกมาเป็นโครงร่างที่น่าสนใจ เจย์ เกรเชม มาเคน นำมาถ่ายทอดให้ฟังเมื่อหลายปีที่แล้ว :

มีหลายวิธีที่น่าจะนำมาใช้ประนีประนอมกันขณะที่ยังหาทางออกไม่ได้ แต่ทั้งหมดแล้ว เรามักคิดกันว่า กุญแจไขปัญหาที่แท้จริงของกรณีนี้ … น่าจะอยู่ตรงข้อเท็จจริงที่ว่า มัทธิว มีความตั้งใจดี แต่นำเสนอรายชื่อคนที่สืบทอดตำแหน่งแต่เพียงบางส่วนเท่านั้น (เป็นได้ หรือมีแนวโน้มว่าเป็นไปได้) จากสายราชบัลลังก์ของดาวิด ในขณะที่ลูกาใช้วิธีย้อนถอยกลับไปทางโยเซฟ ไปทางนาธัน และดาวิด ดังนั้นจึงไม่เหมาะที่จะนำข้อขัดแย้งระหว่างพระกิตติคุณทั้งสองเล่มมาใช้ เปรียบเทียบกันเมื่อพูดถึงต้นกำเนิดของพระเยซูคริสต์ พระเป็นเจ้าของเรา 5

ผมค่อนข้างเอนเอียงไปทางบอยส์ ที่เสนอทางออกแบบที่สอง – ลำดับพงศ์พันธ์ตามของมัทธิว มาทางสายครอบครัวของ โยเซฟ ขณะที่ลำดับพงศ์ตามแบบลูกา ออกไปทางบรรพบุรุษทางสายของนางมารีย์

ตามความเห็นของผม มีทางออกที่ดีกว่าถ้ามองในมุมมองของสองสาย คือสายของโยเซฟ และสายของนางมารีย์ ทั้งคู่มีบรรพบุรุษคนเดียวกัน คือกษัตริย์ดาวิด … . จากมุมมองนี้ ความต่างระหว่างทั้งสองสาย ไม่ใช่เป็นเรื่องทายาทตาม “กฎหมาย” หรือตามความสัมพันธ์ “บิดา-บุตร” เช่นที่มาเคนเสนอ แต่ตามการสืบทอดราชบัลลังก์ ของผู้ที่นั่งบนบัลลังก์จริงๆ หรือสืบทอดจากบิดาสู่บุตรหัวปี ถึงแม้บุตรนั้นจะไม่ได้ขึ้น ครองบัลลังก์ก็ตาม6

ผมไม่ได้พยายามเสนอทางออกแบบกำปั้นทุบดิน แต่อยากชี้ให้เห็นว่ายังมีข้อขัดแย้งในลำดับพงศ์ของทั้งคู่ ฟังดูคล้ายกับที่พวกนักวิชาการชอบเสนอทางออกแบบมีเหตุมีผล จุดประสงค์ของผมคือ ต้องการแสดงให้เห็นว่าการลำดับพงศ์ของมัทธิว กระทำอย่างรอบคอบ เพื่อสอนเราถึงความจริงสำคัญบางประการ ความจริงพื้นฐานของข่าวประเสริฐในพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ และสำหรับชีวิตของเรา

บทเรียนจากการลำดับพงศ์ของพระกิตติคุณมัทธิว
มัทธิว 1:1-17

รูปแบบการสอนตอนนี้ขอเป็นแบบตั้งข้อสังเกตและเสนอข้อสรุป ผมขอเริ่มด้วยข้อสังเกตจากลำดับพงศ์ ตามที่บันทึก อยู่ในข้อ 1-17 ก่อน และพยายามหาข้อสรุปจากการตั้งข้อสังเกตนี้

ข้อสังเกตประการแรก : มัทธิวเริ่มด้วย หนังสือลำดับพงศ์ของพระเยซูคริสต์ ผู้เป็นเชื้อสายของดาวิด ผู้สืบตระกูลเนื่องมาจากอับราฮัม (มัทธิว 1:1) คำที่ว่า “หนังสือลำดับพงศ์” ในภาษากรีก แปลตรงตัวว่า “หนังสือต้นกำเนิดของพระเยซูคริสต์” ซึ่งเกือบเหมือนคำแปลภาษากรีกของปฐมกาล 2:4 และ 5:1:7

เรื่องฟ้าสวรรค์และแผ่นดินที่พระเจ้าทรงสร้างมีดังนี้ — ในวันที่พระเจ้าทรงสร้างแผ่นดินและฟ้าสวรรค์ (ปฐมกาล 2:4)
(คำแปลในภาษากรีก: “เรื่องปฐมกาลของฟ้าสวรรค์และแผ่นดิน ….”)

ต่อไปนี้เป็นหนังสือลำดับพงศ์พันธ์ของอาดัม เมื่อพระเจ้าทรงสร้างมนุษย์นั้น พระองค์ทรงสร้างตามพระฉายาของพระเจ้า (ปฐมกาล 5:1).
(คำแปลภาษากรีก: “เรื่องปฐมกาล/เผ่าพันธ์ของมนุษย์/อาดัม … .”)

ข้อสรุป: ผมว่าความคล้ายคลึงกันนี้ “บังเอิญ” เอามาก ซึ่งคล้ายกับคำนำของพระกิตติคุณยอห์นข้อแรก บทที่ 1: “ในปฐมกาล พระวาทะดำรงอยู่… .” แน่นอน ยอห์นโยงตอนต้นหนังสือของเขา (และที่สำคัญที่สุดองค์พระ ผู้เป็นเจ้า )เข้ากับปฐมกาลบทที่ 1 และการทรงสร้าง ในมัทธิวที่เรากำลังศึกษาอยู่ เหมือนจะชี้เราให้ย้อนกลับไปดูต้นกำเนิดพงศ์พันธ์แรกในพระคัมภีร์ อยู่ในปฐมกาลบทที่ 5 ในปฐมกาลบทที่ 5 หลังจากที่อาดัมล้มลงในความบาป พระเจ้าเคยเตือนอาดัมว่า ถ้าวันใดเขา (พวกเขา) กินจากต้นไม้แห่งความสำนึกในความดีและความชั่ว เขา(พวกเขา) จะต้องตาย (ปฐมกาล 2:17) จุดประสงค์หนึ่งในต้นกำเนิดพงศ์พันธ์ คือย้ำหนักแน่น ถึงความจริงของพระวจนะ ทุกคนที่สืบทอดพงศ์พันธ์ของอาดัมตายลงตามที่พระเจ้าตรัสไว้ทุกประการ ทำนองเดียวกับพระ กิตติคุณมัทธิว พระคัมภีร์ใหม่ เริ่มต้นด้วยลำดับพงศ์พันธ์ สิ่งนี้นอกจะย้ำเตือนเราว่า บรรดาชื่อในลำดับพงศ์พันธ์ที่เกริ่นนำนั้น ตายไปหมดแล้ว ; คำพูดของมัทธิวแฝงเป็นนัยให้รู้ว่า พระเยซูคริสต์ทรงเป็นจุดเริ่มของเผ่าพันธ์ใหม่ ที่จะไม่มีวันตาย โดยทั่วไปลำดับพงศ์พันธ์เป็นการบันทึกรายชื่อของคนที่สิ้นชีวิตไปแล้ว พงศ์พันธ์ของพระเยซูคือจุดเริ่มต้นของเชื้อสายใหม่ เป็นเชื้อสายของผู้ที่อยู่ ในพระคริสต์ โดยทางความเชื่อ และได้รับชีวิตนิรันดร์ นับเป็นพงศ์พันธ์ที่น่าตื่นเต้นมหัศจรรย์ ! ใครบ้างเล่า จะไม่อยากมีชื่ออยู่ในผู้สืบเชื้อสายพงศ์พันธ์ของพระเยซูคริสต์ ?

ข้อสังเกตุประการที่สอง: หลายชื่อในลำดับพงศ์นี้เป็นชื่อที่เราคุ้นเคยกันดี เป็นชื่อของมนุษย์ที่มีตัวตนจริงๆ เคยมีชีวิต อยู่บนโลกนี้ แต่ก็เป็นเพียงมนุษย์

ข้อสรุป: พระเยซูทรงเป็นมนุษย์ (และเป็นพระเจ้าด้วย) มนุษย์จริงๆทีมีต้นตอ มีวงศ์ตระกูล ข้อเท็จจริงที่ว่าพระเยซูเป็นมนุษย์นั้นสำคัญยิ่ง เพราะสามารถแยกผู้ที่ยึดเอาความจริงออกจากพวกเทียมเท็จได้ :

ท่านที่รักทั้งหลาย อย่าเชื่อวิญญาณเสียทุกๆวิญญาณ แต่จงพิสูจน์วิญญาณนั้นๆ ว่ามาจากพระเจ้า หรือไม่ เพราะว่ามีผู้พยากรณ์เท็จเป็นอันมากจาริกไปในโลก โดยข้อนี้ท่านทั้งหลายก็จะรู้จัก พระวิญญาณของพระเจ้า : คือวิญญาณทั้งปวงที่ยอมรับว่าพระเยซูคริสต์ได้เสด็จมาเป็นมนุษย์ วิญญาณนั้นก็มาจากพระเจ้า (1 ยอห์น 4:1-2 ผมขอย้ำความจริงนี้ด้วย)

ข้อสังเกตูประการที่สาม: ทุกคนที่อยู่ในรายชื่อพระกิตติคุณของมัทธิวล้วนแล้วแต่เป็นคนบาป บางคนก็บาปแบบไม่ธรรมดา! นี่ เป็นปัญหาหนึ่งของลำดับวงศ์ตระกูล – เพราะบรรพบุรุษของเราบางคนก็แย่เอามากๆ เราๆท่านๆคงมีโครงกระดูกบรรพบุรุษซ่อนอยู่ในตู้เสื้อผ้าบ้างไม่มากก็น้อย ถึงแม้คนดีที่สุดของตระกูล ก็ยังเรียกไม่ได้ว่าสมบูรณ์แบบ เราคงต้องให้เรื่องราวของพวกเขาเป็นบทเรียนสอนใจ ดาวิดและซาโลมอนเป็นมหาบุรุษ แต่ก็เคยทำผิดร้ายแรง ไม่ว่าจงใจหรือไม่ก็ตาม แถมบางคนยังเป็นตัวการขัดขวางแผนการและพระสัญญาของพระเจ้าด้วยซ้ำ อับราฮัมแรกๆก็พยายามชักจูงพระเจ้าให้สนับสนุนบุตรชายคนโต ที่เกิดจากหญิงรับใช้มาเป็นทายาท (ปฐก. 15:1-3) ท่านและนางซาราห์พยายามผลิตทายาทสืบสกุลผ่านทางนางฮาการ์ ทาสสาวชาวอียิปต์ (ปฐก. 16) แม้พระเจ้าจะบอกแล้วก็ตาม (ในตอนนั้น) ว่าทายาทที่พระองค์สัญญาไว้ จะเกิดจากตัวท่านเองและนางซาราห์/ซาราย (ปฐก. 17:19) อับราฮัมยังปกปิดเรื่องภรรยา เที่ยวบอกใครต่อใครว่าเป็นน้องสาว ทำให้เธอเป็นที่หมายปองของชายอื่น ท่านไม่เพียงหลอกฟาโรห์เท่านั้น (ปฐก. 12:10-20) แต่หลอกอาบีเมเลคด้วย (ปฐก. 20) และเมื่อถูกอาบีเมเลคตำหนิ ท่านกลับบอกอาบีเมเลคว่าท่านและซาราห์ทำอย่างนี้ตลอด ไม่ว่าไปที่ไหน (ปฐก. 20:13) อิสอัคบุตรของอับราฮัม ทำอย่างเดียวกับภรรยา นางรีเบคคา (ปฐก. 26:7) ตระกูลนี้มีโครงกระดูกแอบซ่อน ไว้ในตู้ มากมาย!

ข้อสรุป: พระพรที่พระเจ้าประทานให้ประชากรของพระองค์ ไม่เกี่ยวข้องกับการทำความดี มีเพียงคำอธิบายเดียวว่ามาจาก พระเมตตาและพระคุณเท่านั้น พระ พรของพระเจ้าเทลงให้คนบาปทุกคน ไม่ว่าเขาจะทำดีแค่ไหน ขึ้นอยู่กับพระคุณที่ผ่าน มาทางพระเยซูคริสต์เท่านั้น ลำดับพงศ์ขององค์พระเยซูคริสต์ เน้นให้เห็นชัดเจนเรื่องความบาปของมนุษย์ ผมชอบในสิ่งที่ เฟรเดอริค บรูเนอร์สรุปเอาไว้ :

“เราจะเห็นว่ามัทธิวเจาะเรื่องลำดับพงศ์ของพระเยซูในพระคัมภีร์เดิม และนำมาเรียงให้เห็นชัดอย่างต่อเนื่อง จนสามารถเข้าใจได้ แถมยังเป็นการประกาศข่าวประเสริฐในอีกรูปแบบ – คือรูปแบบที่ว่า พระเจ้าทรงเอาชนะและให้อภัยบาปผิดได้ สามารถนำคนบาปที่กลับใจมาทำให้แผนการ และพระประสงค์ อันยิ่งใหญ่ของพระองคในประวัติศาสตร์สำเร็จลง (สำหรับการกลับใจของยูดาห์ ปฐก. 38:26; สำหรับ ดาวิด 2 ซมอ. 12:13)8

ข้อสังเกตุประการที่สี่ : มัทธิวใส่ชื่อสตรีถึงสี่ท่านลงในลำดับพงศ์ของท่าน นับ ว่าเป็นเรื่องพิเศษ โดยเฉพาะสำหรับประเพณียิว เรานึกว่าลูกาน่าจะเป็นคนที่ใส่ชื่อสตรีลงในลำดับพงศ์ เพราะท่านมักให้ความสำคัญกับสตรี แต่กลับกลายเป็นมัทธิวที่ออกจะยิวแท้ ใส่ชื่อสตรีทั้งสี่ท่านนี้ลงไป สตรีทั้งสี่ท่านนี้ไม่ใช่คนสำคัญยิ่งใหญ่ใดในพระคัมภีร์เดิม แถมสามท่านยังเป็นต่างชาติโดยกำเนิด ส่วนอีกคน – นางบัทเชบา เป็นต่างชาติโดยการแต่งงานกับอุรียาห์ ชาวฮิทไทต์ (มัทธิว 1:6; 2 ซมอ. 11:3) สตรีเหล่านี้ไม่ได้ใสบริสุทธิ์เหมือน “หิมะหน้าหนาว” อย่างพวกยิวจ๋าชอบกล่าวหา 9

ข้อสรุป: พระสัญญาเรื่องความรอดของพระเจ้าที่ผ่านทางพระเมสซิยาห์ มีสำหรับคนบาปที่ไม่สมควรได้รับ รวมทั้งคนต่าง ชาติด้วย .

สตรีสี่คนที่โดดเด่นที่สุดในประวัติ ศาสตร์ของยิวคือ – ซาราห์ เรเบคคา ราเชล และเลอาห์ คนแรกเป็น ภรรยาของอับราฮัม ต่อมาอิสอัค และยาโคบตามลำดับ ถึงไม่มีชื่อปรากฎอยู่ แต่ชื่อสามีของสตรีเหล่านี้มีบันทึกอยู่ในลำดับพงศ์ ซึ่งมัทธิวมีโอกาสที่จะเอ่ยชื่อสตรีเหล่านี้ขึ้นมา แต่มัทธิวกลับใส่ชื่อสตรีที่น่าสนใจอีกสี่ท่านแทน และเรื่องราวของสตรีทั้งสี่ก็ประกาศถึงพระคุณ ละพระเมตตาอันหาที่สุดมิได้ขององค์พระผู้เป็นเจ้า

เรื่องอื้อฉาวของสตรีทั้งสี่ประกาศ ถึงพระเมตตาคุณของพระเจ้า ซึ่งเป็นหัวใจของพระกิตติคุณมัทธิว มัทธิวจะค่อยๆสอนเราว่า พระเยซูไม่ได้เสด็จมาในโลกนี้เพื่อคนชอบธรรม แต่เพื่อคนบาป (มัทธิว 9:13); ในลำดับพงศ์ของมัทธิว ท่านสอนว่าพระเยซูไม่ได้มาเพื่อ แต่มาโดยทางคน บาป พระเจ้าไม่ได้เสด็จมาอย่างถ่อมพระองค์ในสภาพยากจนเฉพาะวันคริสต์มาสเท่านั้น ; แต่พระองค์ทรงทำสิ่งเหล่านี้ตั้งแต่ในสมัยพระคัมภีร์เดิม พระเมตตาคุณของพระเจ้า เป็นความจริงลึกซึ้งที่สุดที่มัทธิวค้นพบ ทั้งจากในฉบับพระคัมภีร์ฮีบรูดั้งเดิม และในองค์พระเยซูคริสต์ (9:13; 12:7) และผ่านทางสตรีทั้งสี่ท่านนี้ี่ ท่านทำให้ความจริงเรื่องพระเมตตาคุณเด่นชัดขึ้น ด้วยลำดับพงศ์ของพระเยซูตั้งแต่เริ่มแรกทีเดียว

เรื่องลำดับพงศ์แรกของพระคัมภีร์ใหม่ มีเรื่องสอนใจเราอย่างน่ามหัศจรรย์ เชื้อสายตั้งแต่อับราฮัมจนถึงพระเยซูคริสต์ ผู้สืบเชื้อสายมาทางดาวิด ถูกเลือดต่างชาติปะปนอยู่นับครั้งไม่ถ้วน ตัวกษัตริย์ดาวิดเอง มีย่าทวดของย่าทวดเป็นชาวคานาอัน มีแม่ของย่าทวดเป็นคนเยริโค มีทวดเป็นชาวโมอับ และมีภรรยาเป็นคนฮิทไทต์ มัทธิวต้องการให้คริสตจักรตระหนักตั้งแต่แรกว่า ไม่ใช่แค่คณะที่ปกครองในกรุงเยรูซาเล็ม (กิจการ 15) แต่พระราชกิจของพระเจ้าเป็นสากลโลก พระองค์ไม่ได้ทรงมีความคิดแคบๆ เหมือนพวกหัวรุนแรง หรือพวกชาตินิยมนะครับ10

ข้อสังเกตุประการที่ห้า : มัทธิวมีความรอบคอบในการแสดงให้เห็นว่า เชื้อสายของพระเจ้าเป็นเชื้อสายที่ทำให้พระองค์เป็นทั้ง “บุตรดาวิด” และ “บุตรของอับราฮัม”:

“หนังสือลำดับพงศ์ของพระเยซูคริสต์ ผู้เป็นเชื้อสายของดาวิด ผู้สืบตระกูลเนื่องมาจาก อับราฮัม” (มัทธิว 1:1)

อับราฮัมและดาวิดเป็นสองบุคคลใน พระคัมภีร์เดิมที่พระเจ้าทรงทำพระสัญญานิรันดร์และสำคัญมากด้วย ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์

พระเจ้าตรัสแก่อับรามว่า “เจ้าจงออกจาก เมือง จากญาติพี่น้อง จากบ้านบิดาของเจ้า ไปยังดินแดน ที่เราจะบอกให้เจ้ารู้ เราจะให้เจ้าเป็นชนชาติใหญ่ เราจะอวยพรแก่เจ้า จะให้เจ้ามีชื่อเสียงใหญ่โต เลื่องลือไป แล้วเจ้าจะช่วยให้ผู้อื่นได้รับพร เราจะอำนวยพร แก่คนที่อวยพรเจ้า เราจะสาปคนที่แช่งเจ้า บรรดาเผ่าพันธุ์ทั่วโลกจะได้พรเพราะเจ้า” (ปฐมกาล 12:1-3)

พระเจ้าตรัสแก่เจ้าว่า พระเจ้าจะทรงให้เจ้ามีราชวงศ์ เมื่อวันของเจ้าครบแล้ว และเจ้านอนพักอยู่กับ บรรพบุรุษของเจ้า เราจะให้บุตรชายคนหนึ่งของเจ้าเกิด ขึ้นสืบต่อจากเจ้าผู้ซึ่งเกิดมาจากตัวเจ้าเองและ เราจะสถาปนาอาณาจักรของเขา เขาจะเป็นผู้สร้างนิเวศเพื่อ นามของเราและเราจะสถาปนาบัลลังก์ แห่งราชอาณาจักรของเขาให้อยู่เป็นนิตย์ เราจะเป็นบิดาของเขา และเขาจะเป็นบุตรของเรา ถ้าเขากระทำผิดเราจะตีสอนเขาด้วยไม้เรียวของมนุษย์ ด้วยการเฆี่ยนแห่งบุตรมนุษย์ทั้งหลาย แต่ความรัก มั่นคงของเราจะไม่พรากไปจากเขาเสีย ดังที่เราพรากไปจากซาอูล ซึ่งเราได้ถอดเสียให้พ้นหน้าเจ้า (2ซามูเอล 7:11ข-15)

พระสัญญาแรก พระสัญญาของอับราฮัม พระเจ้าสัญญาว่าอับราฮัมจะมีบุตรชาย และโดยทางเชื้อสายของอับราฮัม พระ เจ้าสัญญาว่าจะทรงทำให้เป็นชนชาติยิ่งใหญ่ และทาง “เชื้อสาย” นี้เอง พระองค์ไม่เพียงแต่อำนวยพระพรให้อับราฮัม เท่านั้น แต่ให้ทั้งมวลมนุษยชาติ “เชื้อสาย” ที่ทรงสัญญานี้ จะเป็นแหล่งแห่งพระพร ที่มีอยู่เต็มเปี่ยมในองค์พระเยซูคริสต์:

ดูก่อนพี่น้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยกตัวอย่างสักเรื่องหนึ่ง ถึงแม้เป็นคำสัญญาของมนุษย์ เมื่อได้ รับรองกันแล้ว ไม่มีผู้ใดจะล้มเลิกหรือเพิ่มเติมขึ้นอีกได้ บรรดาพระสัญญา ที่ได้ประทานไว้แก่อับราฮัม และพงศ์พันธุ์ของท่านนั้น มิได้ตรัสว่า และแก่พงศ์พันธุ์ทั้งหลาย เหมือนอย่างกับว่าแก่คนมากคน แต่ เหมือนกับว่าแก่คนผู้เดียวคือ แก่พงศ์พันธุ์ของท่าน ซึ่งเป็นพระคริสต์ (กาลาเทีย 3:15-16)

ในพระสัญญาที่สอง พระสัญญาของดาวิด พระเจ้าสัญญากับดาวิดว่าราชวงศ์ของท่าน จะยั่งยืนเป็นนิตย์ โดยทาง “เชื้อสาย” ของดาวิด การปกครองของพระเมสซิยาห์จะเป็นไปชั่วกาลปวสาน ดังนั้นพระเยซูจึงทรงถูกเรียกว่าเป็น “บุตรดาวิด” (มัทธิว 9:27; 12:23; 15:22; 20:30, 31; 21:9, 15;ดู 22:42-46 ด้วย)

ข้อสรุป: (1) พระเยซูทรงเป็นทั้ง บุตรของอับราฮัม และบุตรดาวิด ทรงเป็นผู้กระทำให้ทั้งพระสัญญาอับราฮัม (ดูกาลาเทีย 3:15-16) และพระสัญญาดาวิด (ดูมัทธิว 22:42-46) สำเร็จเป็นจริง ทรงเป็นทายาทอันชอบธรรมของราชบัลลังก์ ดาวิด ; เป็นกษัตริย์ของอิสราเอล11 (2) เมื่อเราเห็นว่าพระสัญญาอับราฮัม และพระสัญญาดาวิดสำเร็จเป็นจริงในองค์พระเยซูคริสต์ ทำให้เรามั่นใจอีกครั้ง ว่าพระเจ้าทรงสัตย์ซื่อ และรักษาพระสัญญาของพระองค์เสมอ ไม่ว่าพระองค์ตรัสอย่างไร พระองค์จะทำ ที่กางเขนบนเนินหัวกระโหลก พระเจ้าของเราร้องว่า “สำเร็จแล้ว” (ยอห์น 19:30) พระเจ้าทรงทำสิ่งที่ พระองค์เริ่มต้น ให้สำเร็จลงทุกประการ (ฟีลิปปี 1:6)

ข้อสังเกตุประการที่หก:12

1. พระธรรมมาลาคี หนังสือเล่มสุดท้ายของพระคัมภีร์เดิม จบลงด้วยคำพยากรณ์ที่เล็งถึงการเสด็จมาของพระเยซูคริสต์ และยอห์นผู้ให้บัพติสมา ผู้มาเตรียมมรรคาของพระองค์ :

“ดูเถิด เราจะส่งเอลียาห์ผู้เผยพระวจนะ มายังเจ้าก่อนวันแห่งพระเจ้า คือวันที่ใหญ่ยิ่ง และน่าสะพรึงกลัวมาถึง และท่านผู้นั้นจะกระทำให้จิตใจของพ่อหันไปหาลูก และจิตใจของลูกหันไปหาพ่อ หาไม่เราจะมาโจมตีแผ่นดินนั้นด้วยคำสาปแช่ง” (มาลาคี 4:5-6)

2. มัทธิวหนังสือเล่มแรกของพระคัมภีร์ใหม่ เริ่มด้วยการย้อนประวัติศาสตร์กลับไปยังพระคัมภีร์เดิม โดยใช้เรื่องลำดับพงศ์พันธ์

3. ลำดับพงศ์ของหนังสือมัทธิวเริ่มที่อับราฮัม และจบลงที่พระเยซูคริสต์

4. ลำดับพงศ์ของหนังสือมัทธิวครอบคลุมประวัติศาสตร์อิสราเอลทั้งหมด จากอับราฮัมถึงพระเยซูคริสต์

5. หนังสือมัทธิว มากกว่าเล่มอื่นใด ย้ำเรื่องคำพยากรณ์ในพระคัมภีร์เดิมว่าสำเร็จเป็นจริง :

มัทธิวนำพระวจนะจากพระคัมภีร์เดิมมาใช้อ้างอิงไม่ต่ำกว่าสี่สิบครั้ง และใช้คำนำที่เกือบเหมือนสูตรตายตัวว่า ‘ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะ…’ มีไม่ต่ำกว่าสิบหกครั้ง 13

ข้อสรุป : ลำดับพงศ์ของมัทธิว กล่าวชัดกว่าสิ่งที่ผู้เขียนพยายามนำเสนอในพระกิตติคุณทั้งเล่ม การมาบังเกิดของพระเยซูคริสต์ พระราชกิจที่ทรงกระทำสำเร็จตามคำพยากรณ์ในพระคัมภีร์เดิมทุกข้อ แม้กระทั่งพระสัญญาของอับราฮัม และพระสัญญาของดาวิด ลำดับพงศ์นี้บอกเราว่าพระเยซูทรงเป็นผู้กระทำให้พระคัมภีร์เดิมทั้งหมด สำเร็จลงอย่างครบถ้วน ไม่ว่าเล่มใดในพระคัมภีร์เดิมที่เราเปิดดู จะพบพระคริสต์อยู่ที่นั่น

ดูก่อนพี่น้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าอยากให้ท่านทั้งหลายเข้าใจว่า บรรพบุรุษของเราทั้งสิ้นได้อยู่ใต้เมฆ และได้ผ่านทะเลไปทุกคน ได้รับบัพติศมาในเมฆและในทะเลเข้าสนิทกับโมเสสทุกคน และได้รับประทานอาหารทิพย์ทุกคน และได้ดื่มน้ำทิพย์ทุกคน เพราะว่าเขาได้ดื่มน้ำซึ่งไหลออกมาจากพระศิลา ที่ติดตามเขามา พระศิลานั้นคือพระคริสต์ (1 โครินธ์ 10:1-4 ผมขอย้ำด้วย)

เหตุฉะนั้นอย่าให้ผู้ใดพิพากษาปรักปรำ ท่านในเรื่องการกิน การดื่ม ในเรื่องเทศกาล วันต้นเดือน หรือวันสะบาโต สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเงาของเหตุการณ์ที่จะมีมาในภายหลัง แต่กายนั้นเป็นของพระคริสต์ (โคโลสี 2:16-17)

นับเป็นการเริ่มต้นพระกิตติคุณที่ น่าทึ่งมาก – ด้วยการนำรายชื่อยาวเหยียดมาเสนอ! แต่สำหรับชาวยิวแล้ว เรื่องนี้ เป็นเรื่องแสนธรรมดา ซึ่งเราจะได้เห็นต่อๆไป การนำพระเยซูชาวนาซาเร็ธมาเป็นท้องเรื่องของทุกสิ่งที่พระเจ้ากระทำให้กับ ประชากรของพระองค์ ตั้งแต่แรกเริ่มโบราณกาล จนกระทั่งพระสัญญาทั้งสิ้นสำเร็จลงในหนังสือพระกิตติคุณ เป็นพระราชกิจสูงสุดของพระเจ้าที่มีต่อมวลมนุษย์มานานหลาย ร้อยปี – ในองค์พระเยซูคริสต์ 14

… ถ้ามองข้ามคำวิจารณ์ต่างๆไป มันแจ่มแจ้งเหมือนเที่ยงวันหรือไม่ว่ามัทธิวเป็นผู้เริ่มต้นของหนังสือพระ กิตติคุณทั้งสี่เล่ม? ท่านเป็นผู้เดียวที่เชื่อมโยงพระคัมภีร์ใหม่เข้ากับพระคัมภีร์เดิม เพื่อแสดงให้เห็นพระราชกิจที่สำเร็จลงอย่างสมบูรณ์ตามที่กล่าวไว้ในพระ คัมภีร์ฮีบรูฉบับเดิมทุกประการ ท่านนำถ้อยคำในพระคัมภีร์เดิมมาใช้อ้างอิงมากกว่าพระกิตติคุณมาระโกและลูกา รวมกัน นอกจากนี้ มัทธิว (เพียงผู้เดียว) เขียนพระกิตติคุณเล่มนี้เพื่อชาวยิว เรียกว่าท่านน่าจะเป็นผู้เริ่มต้น หรือผู้นำของพระกิตติคุณทั้งสี่อย่างแท้จริง รวมทั้งเป็นผู้เชื่อมโยงสิ่งใหม่ให้เข้ากับสิ่งเก่าด้วย – แม้สิ่งใหม่จะเป็นการยกให้ ยิวมาก่อน เราควรว่าตามท่านดีกว่า ถึงจะดูล้าสมัยไปสักนิดก็ตาม!15

เป็นที่รู้กันดีว่า มัทธิวรักที่จะเล่าสิ่งที่พระเยซูทำสำเร็จตามคำพยากรณ์ในพระคัมภีร์เดิมตลอด เวลา ท่านจึงชอบเขียนว่า : “ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งตรัสไว้โดยผู้ เผยพระวจนะ…” (โดยเฉพาะ ในบทที่ 1 และ 2) ในลำดับพงศ์ของมัทธิว ท่านไม่เพียงแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จตอนหนึ่งตอนใดในพระคัมภีร์เดิม แต่เป็นพระคัมภีร์เดิมในภาพรวมทั้งหมด พระเยซูเป็นผู้ทำให้คำพยากรณ์ และเหตุการณ์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นในพระคัมภีร์เดิมสำเร็จครบถ้วนทุกประการ16

ข้อสังเกตุประการที่เจ็ด: ลำดับพงศ์ของมัทธิวมีการจัดเตรียมเป็นอย่างดี เป็นหมวดหมู่และเรียงตามลำดับ :

ดังนั้นตั้งแต่อับราฮัมลงมาจนถึงดาวิดจึง เป็นสิบสี่ชั่วคน และนับตั้งแต่ดาวิดลงมา จนถึงต้องถูกกวาดไปเป็นเชลยที่กรุงบาบิโลน เป็นเวลาสิบสี่ชั่วคน และนับตั้งแต่ถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยที่กรุงบาบิโลน จนถึงพระคริสต์เป็นสิบสี่ชั่วคน (มัทธิว 1:17)

ลำดับพงศ์ของมัทธิวแบ่งออกเป็นสามช่วง แต่ละช่วงมีสิบสี่ชื่อ17 การจะทำเช่นนี้ได้ ท่านต้องละบางชื่อไป แต่ไม่เป็นปัญหา เพราะในภาษากรีก (คำว่า “เป็นบุตรของ”) หมายถึงเป็นลูกหลานของบรรพบุรุษ ซึ่งอาจเป็นลูก เป็นหลาน เป็นเหลนก็ได้ ที่ผมพยายามชี้ให้เห็นคือ มัทธิวต้องการให้เราเห็นลำดับพงศ์ที่ท่านจัดเรียงไว้เป็นลำดับ

ผมพบว่า ข้อสังเกตของบรูเนอร์ ในเรื่องโครงสร้างลำดับพงศ์นี้น่าสนใจทีเดียว :

“ถ้าจะให้เข้าใจเรื่องสิบสี่ชื่อ – สามช่วงนี้ให้ง่ายที่สุด เราต้องลองเรียงตัวอักษรของแต่ละช่วงใหม่ เช่นสิบสี่ชื่อ แรกจากอับราฮัมจนถึงดาวิดเป็นตัวเอนขวา (/) สิบสี่ชื่อของช่วงที่สอง จากกษัตริย์ซาโลมอนไปจนถูกต้อนไปเป็นเชลยที่บาบิโลน เอนซ้าย (\) และสิบสี่ชื่อสุดท้าย จากเป็นเชลยในบาบิโลนจนถึงพระเยซูคริสต์ เอนขวาใหม่” (/)18

บรูเนอร์แนะว่า ช่วงแรกจากอับราฮัมถึงดาวิด ทุกอย่างดูจะเป็นขาขึ้น คือดีขึ้นและดีขึ้นตามลำดับ ต่อมาบุตรของดาวิด กษัตริย์ซาโลมอน ดูจะพุ่งขึ้นสู่จุดสูงสุด ในหนังสือของบรูเนอร์ (หน้า 5) เชื่อว่าเป็นช่วงที่สำแดงเด่นถึงพระเมตตาคุณของพระเจ้า ที่เห็นเช่นนี้ได้ เพราะมีการนำชื่อสตรีต่างชาติเข้ามาบันทึกอยู่ในลำดับพงศ์

ช่วงที่สอง อาณาจักรที่เคยรุ่งเรืองสุดเริ่มดิ่งลง (หลังจากดาวิดและซาโลมอน) ลงไปจนถึงจุดตกต่ำที่สุด – เมื่ออิสราเอลตกไปเป็นเชลยของบาบิโลน หลังจากซาโลมอนสิ้นชีวิต อาณาจักรแตกออกเป็นสอง บรรดากษัตริย์ที่ปกครองฝ่ายเหนือมีแต่ดำเนินอยู่ในความชั่วและชั่ว ส่วนกษัตริย์ของฝ่ายยูดาห์มีทั้งดีและชั่วผสมกันไป การที่ต้องตกไปเป็นเชลยเป็นเพราะความดื้อดึง และกบฏไม่รู้จักจบสิ้นของยูดาห์ ถ้ามองด้วยสายตามนุษย์ ความหวังของอิสราเอลที่พระเจ้าจะทำตามพระสัญญาที่ให้ไว้ในพระคัมภีร์เดิมดู จะหดลงเหลือแค่หนวดแมว

ช่วงที่สาม เริ่มจะดีขึ้นอีกครั้ง พระเจ้าทรงช่วยกู้ประชากรของพระองค์ออกจากบาบิโลน และนำพวกที่เหลือกลับสู่มาตุภูมิ มีทั้งภัยอันตรายและความผิดหวัง แต่อิสราเอลเริ่มมีความหวัง

ข้อสรุป : พระเจ้าผู้ครอบครอง ทรงควบคุมอยู่เหนือประวัติศาสตร์อิสราเอล เพื่อพระประสงค์และพระสัญญาของพระองค์จะสำเร็จลงอย่างครบถ้วน เมื่อ ผม อ่านพระคัมภีร์เดิม ผมทึ่งเป็นที่สุดที่เห็นมนุษย์ก่อแต่เรื่องไม่รู้จบ ในขณะที่พระสัญญาของ พระเจ้ายังคงดำเนินต่อไป ดีที่สุดของมนุษย์ก็ยังเป็นคนบาป ต่ำกว่ามาตรฐานพระเจ้าชนิดสุดกู่ ดาวิดและซาโลมอน กษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ ชีวิตมีแต่เรื่องวุ่นวาย บาปของทั้งสองสร้างผลกระทบใหญ่หลวงให้กับอิสราเอล ถ้าพระสัญญาของพระเจ้าจะ สำเร็จลงโดยต้องพึ่งคนพวกนี้ เราทั้งหลายคงจะน่าสมเพชเป็นที่สุด

เมื่อผมอ่านพระคัมภีร์ทั้งเล่ม ผมมักนึกถึงพระคำตอนที่ว่า ทูตสวรรค์กำลังเฝ้าดูเหตุการณ์ต่างๆ (1 โครินธ์ 11:10; เอเฟซัส 3:10; 1 เปโตร 1:10-12) พวกทูตสวรรค์คงหายใจไม่ทั่วท้อง เมื่อเห็นอับราฮัมเที่ยวบอกใครๆว่าภรรยาเป็นน้องสาว และส่งนางไปให้ฟาโรห์ (ปฐก. 12:10-20) แล้วไปทำเช่นเดิมอีกกับอาบีเมเลค ทั้งๆที่พระเจ้าสัญญาจะประทานบุตรชายให้โดยนางซาราห์ (ปฐก. 17:15-21; 20:1-18) ยูดาห์เป็นต้นสายของวงศ์วานที่พระเมสซิยาห์จะมาบังเกิด (ปฐก. 49:8-12) แต่ยูดาห์เกือบจะอดมีบุตรเพราะความบาปของท่าน (ปฐก. 38) ครั้งแล้วครั้งเล่าที่พวกทูตสวรรค์ต้องกลั้นหายใจ กลัวว่าพระสัญญาจะไม่มีทางเกิดขึ้นเป็นจริง ถ้ามองด้วยสายตามนุษย์ วุ่นวายสิ้นดี

วิธีการที่มัทธิวเรียบเรียงลำดับพงศ์พันธ์เป็นระเบียบเรียบร้อย เป็นขั้นเป็นตอน และแบ่งเป็นสามช่วง แต่ละช่วงมีสิบสี่ชื่อ สิ่งนี้แสดงให้เห็นถึงการทำงานที่ละเอียดและเป็นระเบียบของท่าน ใช่หรือไม่? ถ้ามองตามมุมมองของมนุษย์ ดูจะมีแต่เรื่องสับสนวุ่นวาย แต่ผลลัพธ์กลับชัดเจนและเป็นเรื่องเดียว นั่นคือพระเจ้าทรงควบคุมอยู่ พระประสงค์และพระสัญญาจะเกิดขึ้นเป็นจริงเสมอ

สำหรับมัทธิว สามช่วงสิบสี่ชื่อนี้ เป็นการจัดเรียงอย่างมีระเบียบ สอดคล้องกันและมีความหมาย เมื่อมัทธิวมองย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ ไปที่ประชากรของพระเจ้า ท่านเห็นการสืบทอดต่อมาของสิบสี่ชั่วคน คั่นด้วยแต่ละยุคของประวัติศาสตร์ – ระหว่างอับราฮัม ดาวิด การเป็นเชลย และพระคริสต์ – ท่าน เกิดความประทับใจ ในการครอบครองอยู่ของพระ เจ้า ไม่ว่าจะเบื้องหลัง อยู่ภายใต้ อยู่เหนือ และตลอดความสับสนอลหม่าน ความบาป การกบฏดื้อดึง ตลอดประวัติศาสตร์ที่ขึ้นๆลงๆของอิสราเอล พระเจ้าค่อยๆทำ พระประสงค์ของพระองค์ให้สำเร็จลงแต่ละปีๆ บรรดาผู้คนที่โลดแล่นอยู่ในประวัติศาสตร์ยุคโน้น คงคิดว่าวุ่นวายจริงหนอ แต่เมื่อมองย้อนกลับไปที่พระคัมภีร์เดิม ผ่านมุมมองประวัติศาสตร์ที่พระเยซูคริสต์นำเสนอ เราเห็นพระหัตถ์อันมั่นคงและแน่นอนของพระเจ้า … สามช่วงสิบสี่ชื่อ หมายถึงการครอบครองอยู่โดยพระเจ้าของเรา 19

ข้อสังเกตุประการที่แปด : ลำดับพงศ์ของมัทธิวไม่ได้เป็นไปตามมาตรฐาน ตามรูปแบบที่เราคิด เช่น เรียงลำดับจากอิสอัคไปยาโคบ และต่อไปที่ยูดาห์ (มัทธิว 1:2) โดยทั่วๆไป การสืบทอดวงศ์ตระกูลมักจะผ่านทางบุตรหัวปี เรารู้ว่าเอซาวเป็นบุตรคนโตของ อิสอัค ไม่ใช่ยาโคบ แต่การลำดับพงศ์กลับผ่านไปทางยาโคบ สิ่งที่เกิดขึ้นไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องเล่าธรรมดาๆ แต่เป็นแผนการของพระเจ้าที่สำเร็จลง :

อิสอัคอธิษฐานต่อพระเจ้าเพื่อภรรยาของ ท่าน เพราะนางเป็นหมัน พระเจ้าประทานตามคำอธิษฐานของท่าน เรเบคาห์ภรรยาของท่านก็ตั้งครรภ์ เด็กก็เบียดเสียดกันอยู่ในครรภ์ของนาง นางจึงพูดว่า “ถ้าเป็นเช่นนี้ ฉันจะมีชีวิตอยู่ทำไม” นางจึงไปทูลถามพระเจ้า พระเจ้าตรัสกับนางว่า “ชนสองชาติ อยู่ในครรภ์ของเจ้า และประชาชนสองพวกเกิดจากเจ้าจะต้องแยกกัน พวกหนึ่งจะแข็งแรงกว่าอีกพวกหนึ่ง พี่จะรับใช้น้อง” (ปฐมกาล 25:21-23)

ข้อสรุป : ลำดับพงศ์ของมัทธิวเป็นข้อพิสูจน์ถึงการทรงเลือกของพระเจ้า แม้ว่าโยเซฟเป็นลูกคนโปรดของยาโคบ (และท่านแบ่งส่วนมรดกบุตรหัวปีให้หลานถึงสองเท่าโดยรับเป็นบุตรของตนเอง – ปฐมกาล 48) แต่กลับเป็นทางสายของยูดาห์ ที่พระเมสซิยาห์ทรงมาบังเกิด ยูดาห์ไม่ได้เป็นบุตรหัวปี ; รูเบนเป็น ตามด้วยสิเมโอน รูเบนเสียตำแหน่งเพราะล่วงเกิน เอาภรรยาของบิดามาเป็นของตน (ปฐมกาล 49:3-4) สิเมโอนและเลวี สังหารชาวเมืองเชเคมอย่างโหดเหี้ยม (ปฐมกาล 34) ดังนั้นการสืบทอดพงศ์พันธ์จึงไม่สามารถทำได้โดยทางสิเมโอน (ปฐมกาล 49:5-7) ตามที่ อ.เปาโลชี้ให้เห็นในหนังสือโรมบทที่ 9 ลำดับพงศ์ตามพระสัญญานั้นเป็นการทรงเลือกที่ชัดเจนยิ่งนัก :

แต่มิใช่ว่าพระวจนะของพระเจ้าได้ล้มเหลวไป เพราะว่าเขาทั้งหลายที่เกิดมาจากอิสราเอลนั้น หาได้เป็น คนอิสราเอลแท้ทุกคนไม่ และมิใช่ว่าทุกคนที่เป็นเชื้อสายของอับราฮัมเป็นบุตรแท้ของท่าน แต่ว่า เขา จะ “เรียกเชื้อสายของท่านทางอิสอัค” หมายความว่าคนที่เป็นบุตรของพระเจ้านั้น มิใช่บุตรทางเนื้อ หนัง แต่บุตรตามพระสัญญา จึงจะถือว่าเป็นผู้สืบเชื้อสายได้ เพราะพระสัญญามีว่าดังนี้ :

เราจะมา ตามฤดูกาล และนางซาราห์จะมีบุตรชาย” และมิใช่เท่านั้น แต่ว่า นางเรเบคคาก็ได้มีครรภ์กับชายคนหนึ่งด้วย คืออิสอัคบรรพบุรุษของเรา— แม้ก่อนบุตรนั้นบังเกิดมา และยังไม่ได้กระทำดีหรือชั่ว เพื่อพระดำริของพระเจ้าในการทรงเลือกนั้น จะตั้งมั่นคงอยู่ ไม่ใช่ตามการประพฤติ แต่ตามซึ่งพระองค์ทรง เลือก — พระองค์จึงตรัสแก่นางนั้นว่า “พี่จะปรนนิบัติน้อง” ตามที่มีคำเขียนไว้ในพระคัมภีร์ว่า “ยาโคบนั้นเรารัก แต่เอซาวเราได้ชัง” (โรม 9:6-13)

แม้ยาโคบจะต่อสู้ทั้งกับพระ เจ้าและมนุษย์ (ดูปฐมกาล 32:28) ในที่สุดท่านก็พบว่า พระเจ้าเองเป็นผู้ยกมนุษย์ขึ้นให้เหนือกว่ามนุษย์ผู้อื่น ท่านกล่าวทิ้งท้ายไว้ก่อนตายว่า :

โยเซฟเอาบุตรลงจากเข่าของท่าน แล้วกราบลงถึงดิน โยเซฟจูงบุตรทั้งสองเข้าไปใกล้บิดา มือขวาจับ เอฟราอิมให้อยู่ข้างซ้ายอิสราเอล และมือซ้ายจับมนัสเสห์ให้อยู่ข้างขวาอิสราเอล ฝ่ายอิสราเอลก็เหยียด มือขวาออกวางบนศีรษะเอฟราอิมผู้เป็นน้อง และมือซ้ายวางไว้บนศีรษะมนัสเสห์ เหยียดมือออกไขว้กันเช่นนั้น เพราะมนัสเสห์เป็นบุตรหัวปี แล้วอิสราเอลกล่าวคำอวยพรแก่โยเซฟว่า “ขอพระเจ้าที่อับราฮัมและอิสอัค บิดาข้าพเจ้า ดำเนินอยู่เฉพาะพระพักตร์นั้น ขอพระเจ้าผู้ทรงบำรุงเลี้ยงชีวิตข้าพเจ้า ตั้งแต่เกิดมาจนวันนี้ ขอทูตสวรรค์ที่ได้ช่วยข้าพเจ้าให้พ้นจากความชั่วร้ายทั้งสิ้น โปรดอวยพรแก่เด็กทั้งสองนี้ ให้เขาสืบชื่อ ของข้าพเจ้าและชื่อของอับราฮัม และชื่อของอิสอัคบิดาของข้าพเจ้าไว้ และขอให้เขาเจริญขึ้นเป็นมวลชน บนแผ่นดินเถิด” ฝ่ายโยเซฟเมื่อเห็นบิดาวางมือข้างขวาบนศีรษะของ เอฟราอิมก็ไม่พอใจ จึงจับมือบิดา จะยกจากศีรษะเอฟราอิมวางบนศีรษะมนัสเสห์ โยเซฟเตือนบิดาว่า “ไม่ถูก คุณพ่อ เพราะคนนี้เป็นหัวปี ขอพ่อวางมือขวาบนศีรษะคนนี้เถิด” บิดาก็ไม่ยอม ตอบว่า “พ่อรู้แล้ว ลูกเอ๋ย พ่อรู้แล้ว เขาจะเป็นคนเผ่าหนึ่งด้วย และเขาจะใหญ่โตด้วย อย่างไรก็ดีน้องชายจะใหญ่โตกว่าพี่ และพงศ์พันธุ์ของน้องนั้น จะเป็นคนหลายประชาชาติด้วยกัน” วันนั้นอิสราเอลก็ให้พรแก่ทั้งสองคนว่า “พวกอิสราเอลจะใช้ชื่อเจ้าให้พรว่า ‘ขอพระเจ้าทรงโปรดให้ท่านเป็นเหมือนเอฟราอิม และเหมือนมนัสเสห์ เถิด’” อิสราเอลจึงให้เอฟราอิมเป็นใหญ่กว่ามนัสเสห์ (ปฐมกาล 48:12-20)

โยเซฟรู้สึกหนักใจที่บิดาสับสน ไม่รู้ว่าหลานคนใดคือบุตรหัวปี สมควรได้รับมรดกตามสิทธิ ท่านพยายามนำมือบิดาไปวางไว้ที่บุตรหัวปี เพื่อจะได้รับพร แต่ยาโคบไม่สนใจทำตาม ท่านรู้ดีว่ากำลังทำสิ่งใด และในขณะที่ท่านสลับมือกลับ ผมเชื่อว่าการกระทำเช่นนี้เป็นพยานอย่างดีถึงการทรงเลือกของพระเจ้าผู้ควบ คุม ทุกสิ่งล้วนแล้วมาจากพระองค์ เพราะพระองค์เป็นผู้ครอบครอง ลำดับพงศ์ของมัทธิวจึงเป็นพยานถึงการทรงเลือกของพระเจ้า

ต้นกำเนิดของพระเมสซิยาห์
มัทธิว 1:18-25

ลำดับพงศ์ตามข้อ 1-17 แสดงให้เห็นถึงความเป็นมนุษย์ของพระเยซูคริสต์ มัทธิวแสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงเป็นลูกหลานของอับราฮัมและดาวิด และเป็นไปตามพระสัญญาที่ทรงกระทำไว้กับทั้งสอง เมื่อได้พิสูจน์ถึงความเป็นมนุษย์ของพระเยซูแล้ว (เป็นมนุษย์เที่ยงแท้แน่นอน) ท่านต้องเปิดเผยให้รู้ถึงต้นกำเนิดแท้จริงของพระเมสซิยาห์ พระเมสซิยาห์ไม่ได้เป็นเพียงมนุษย์เท่านั้น ; พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าด้วย – พระเจ้า ผู้สถิตกับเรา ข้อ 18-25 พูดถึงขั้นตอนที่นางมารีย์ตั้งครรภ์ มิใช่โดยโยเซฟ แต่โดยเดชพระวิญญาณบริสุทธิ์ :

เรื่องพระกำเนิดของพระเยซูคริสต์เป็นดัง นี้ คือมารีย์ผู้เป็นมารดาของพระเยซูนั้น เดิมโยเซฟ ได้สู่ขอหมั้นกันไว้แล้ว ก่อนที่จะได้อยู่กินด้วยกันก็ปรากฏว่า มารีย์มีครรภ์แล้วด้วยเดชพระวิญญาณบริสุทธิ์ แต่โยเซฟคู่หมั้นของเขาเป็นคนมีธัมมะ ไม่พอใจที่จะแพร่งพรายความเป็นไปของเธอ หมายจะถอนหมั้นเสียลับๆ แต่เมื่อโยเซฟยังคิดในเรื่องนี้อยู่ ก็มีทูตองค์หนึ่งของพระเป็นเจ้า มาปรากฏแก่โยเซฟในความฝันว่า “โยเซฟบุตรดาวิด อย่ากลัวที่จะรับมารีย์มาเป็นภรรยาของเจ้าเลย เพราะว่าผู้ซึ่งปฏิสนธิในครรภ์ของเธอเป็นโดยเดชพระวิญญาณบริสุทธิ์ เธอจะประสูติบุตรชาย แล้วเจ้าจงเรียกนามท่านว่า เยซู เพราะว่าท่านเป็นผู้ที่จะโปรดช่วยชนชาติของท่านให้รอดจากความผิดบาปของเขา” ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า ดูเถิด หญิงพรหมจารีคนหนึ่งจะตั้งครรภ์และคลอดบุตรชายคนหนึ่ง และเขาจะเรียกนามของท่านว่าอิมมานูเอล (แปล ว่าพระเจ้าทรงอยู่กับเรา) ครั้นโยเซฟตื่นขึ้นก็กระทำตามคำซึ่งทูตของพระเจ้าสั่งนั้น คือได้รับมารีย์มาเป็นภรรยา แต่มิได้สมสู่กับเธอจนประสูติบุตรชายแล้ว และโยเซฟเรียกนามของบุตรนั้นว่าเยซู

เราไม่มีเวลาพอจะอรรถาธิบายพระคำสุดแสนมหัศจรรย์ตอนนี้ แต่ผมขอให้ข้อสังเกตบางประการ

ข้อแรก มัทธิวมุ่งความสนใจของผู้อ่านไปที่โยเซฟ ขณะที่ลูกาให้ความสำคัญที่นางมารีย์ แต่ ที่สุดแล้วน้ำหนักไปลงที่การถือกำเนิดขององค์พระเยซูคริสต์เท่าเทียมกัน แต่ทำไมมัทธิวถึงให้เราเห็นว่าเรื่องของโยเซฟนั้นสำคัญ? เหตุผลหนึ่งคือ โดยทางโยเซฟนี้เอง ที่เป็นผู้ต่อลำดับพงศ์จากดาวิดมายังพระเยซู โยเซฟไม่ได้เป็นบิดาทางกายของพระเยซู เป็นเพียงบิดาทางกฎหมายเท่านั้น ดังนั้นพระเยซูจึงได้เป็น “บุตรดาวิด” โดยทางท่าน

มัทธิวเพียงต้องการให้เราเห็นข้อเท็จจริงว่าโยเซฟนั้นเป็นผู้ “มีธัมมะ” (1:19) แน่นอนท่านเป็นเช่นนั้น ผมกลัวว่าพวกเราจะมองไม่เห็นถึงบทบาทสำคัญที่โยเซฟมีต่อพระเยซูในวัยเยาว์ เราไม่ควรมองข้ามเรื่องนี้ ดูเหมือนเป็นที่เข้าใจว่านางมารีย์อายุยังน้อยเมื่อมีพระเยซู – อาจในวัยรุ่น และโยเซฟนั้นอายุมากกว่า (เข้าใจกันว่าท่านเสียชีวิตก่อนพระเยซูเสด็จออกทำพันธกิจ) ผมเชื่อว่าโยเซฟมีธัมมะในใจพอ ท่านเสนอขอถอนหมั้นนางมารีย์อย่างลับๆ แทนที่จะเอาเรื่องเอาราวกับเธอทางข้อกฎหมาย เมื่อเดือนที่แล้วท่านนายกเทศมนตรีอิลลินอยส์ จอร์จ ไรอัน ยกโทษให้นักโทษประหารถึงสี่คน และบางคนลดโทษให้เหลือแค่จำคุกตลอดชีวิต ที่ทำเช่นนั้นเพราะเมื่อมีการสอบสวนกันอย่างรอบคอบ พบว่านักโทษบางคนบริสุทธิ์ และคนที่ทำผิดจริงถูกนำตัวมาลงโทษ ไรอันกล่าวเมื่อถูกวิจารณ์ว่า “ท่านทำในสิ่งที่กล้าหาญมาก” แต่ท่านกลับพูดว่ามันเป็นเพียง “ทำในสิ่งที่ถูกต้อง”

โยเซฟคงรู้จักนางมารีย์เป็นอย่าง ดี ; รู้พื้นเพว่าเธอเป็นคนอย่างไร ดำเนินชีวิตอย่างบริสุทธิ์และซื่อตรง เธอคงบอกโยเซฟว่า เธอไม่เคยมีสัมพันธ์กับชายใด และแน่ๆเล่าเรื่องทูตสวรรค์ที่มาพบและการตอบสนองของเอลีซาเบธ เรื่องที่มารีย์เล่าฟังดูเหลือเชื่อ จนทำให้โยเซฟคิดสงสัย …….ในความมีธัมมะของท่าน ท่านไม่ยอมให้เรื่องนี้รู้ถึงมือกฎหมาย เพราะเป็น เรื่องคอขาดบาดตาย ท่านยอมให้นางมารีย์ดำเนินชีวิตต่อไปอย่างเงียบๆ คอยเวลาที่ความจริงเปิดเผย เพื่อยืนยันตามคำบอกเล่าของนาง ผมคาดเดาไปเองหรือเปล่า? น่าจะใช่ แต่อยากจะบอกว่า มัทธิวบอกเราตั้งแต่ต้นว่าโยเซฟเป็นคนมีธัมมะ เพราะเหตุนี้ผมจึงคิดว่าสิ่งที่โยเซฟทำเพื่อนางมารีย์นั้น เป็นเพราะความมีธัมมะของท่าน

ต้องเป็นคนมีธัมมะในใจ และมีความเชื่อมากพอ จึงจะเชื่อคำพูดของทูตสวรรค์ในความฝันได้ว่านางมารีย์ตั้งครรภ์โดยเดชของ พระวิญญาณบริสุทธิ์ ต้องเป็นคนมีธัมมะพอที่จะรับหญิงตั้งครรภ์นี้มาเป็นภรรยา โดยที่ทุกคนคิดว่าท่านเป็นบิดาของเด็ก แลดูเหมือนทั้งคู่ทำบาปก่อนแต่งงาน ต้องเป็นคนที่สงบและมีความมั่นคงในจิตใจ พอที่จะจัดการกับสถานการณ์อันเจ็บปวดนี้ ได้ และพร้อมรับเรื่องอื่นๆที่จะตามมา เมื่อพระเยซูถือกำเนิด (ไม่ว่าการเดินทางไปเบธเลเฮม ไม่มีที่พักอาศัย) โยเซฟยอม เสี่ยงภัย ทิ้งประเทศอิสราเอล นำครอบครัวไปหลบภัยในประเทศอียิปต์ ท่านใช้สติปัญญา และเชื่อฟังการทรงนำของพระเจ้า ผ่านทางนิมิตที่มีมาหลายครั้ง พระเจ้าทรงมีพระคุณอย่างเหลือล้นที่จัดเตรียมคนเช่นนี้ให้กับนางมารีย์ เพื่อให้นางมั่นใจและสบายใจ เพื่อให้นางมีที่ปรึกษา มีผู้คอยคุ้มครองดูแลนางและบุตรที่กำลังเกิดมา!

ประการที่สอง มัทธิวมีความรอบคอบเป็นอย่างยิ่ง ที่ประกาศถึงการกำเนิดอันบริสุทธิ์ของพระเยซู ใน ข้อ 1-17 มัทธิวแสดง ให้เห็นต้นกำเนิดเชื้อสายของพระเยซู ซึ่งผ่านมาทางอับราฮัมและดาวิด ตอนนี้มัทธิวกำลังแสดงให้เห็นชัดว่าพระเยซูไม่ได้เป็น เพียงมนุษย์ธรรมดาเท่านั้น พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าด้วย ความเป็นพระเจ้าของพระองค์ทำให้คำพยากรณ์ของอิสยาห์เกิดขึ้น เป็นจริง (อิสยาห์ 7:14, นำมาอ้างในมัทธิว 1:23) ทูตสวรรค์เองก็ประกาศถึงความเป็นพระเจ้าของพระองค์ ที่นางมารีย์ตั้งครรภ์ ทูตสวรรค์ประกาศว่าไม่ใช่เป็นเพราะมนุษย์คนใด แต่เป็นโดยพระวิญญาณบริสุทธิ์ (ข้อ 20-21) การประกาศว่าโยเซฟ มิใช่เป็นบิดาที่แท้จริงของพระเยซูนั้น กระทำด้วยความนุ่มนวลแต่ชัดเจน

ประการที่สาม ในพระคำตอนนี้ มัทธิวอธิบายถึงพระลักษณะและพระราชกิจขององค์พระผู้เป็นเจ้าด้วยชื่อสองชื่อ ในลำดับ พงศ์ข้อ 1-17 มัทธิวโยงพระเยซูเข้ากับบุคคลสำคัญสองท่านในพระคัมภีร์เดิม : อับราฮัมและดาวิด พระเยซูทรงเป็น “บุตร ดาวิด” และทรงเป็น “บุตรของอับราฮัม” ด้วย ดังนั้นพันธสัญญาของทั้งอับราฮัมและของดาวิด จึงสำเร็จลงอย่างสมบูรณ์ ต่อมาในข้อ 18-25 มัทธิวอธิบายถึงพระบุคคลของพระเยซูคริสต์และพระราชกิจของพระองค์ โดยชื่อสองชื่อของพระองค์ : (1) เยซู (โยชูวา = ยาเวห์ทรงกู้); และ (2) อิมมานูเอล (“พระเจ้าอยู่ด้วยกับเรา“)

ชื่อนี้มีความหมายมากเพียงใด? มากครับ! สำหรับชาวยิวแล้วชื่อแต่ละชื่อมีความหมายและสำคัญจนเรานึกไม่ถึง “อับราม” แปลว่า “บิดาผู้สูงส่ง” ส่วน “อับราฮัม” แปลว่า “บิดาของผู้คนมากมาย” พระเยซูทรงตั้งชื่อซีโมนว่า “เปโตร” หรือ “เปตรอส” แปลว่าศิลา ชื่อของพระเยซูบ่งถึงพระลักษณะและพระราชกิจของพระองค์ คำว่าเยซูมาจากภาษาฮีบรู โยชูวา แปลว่า “พระเยโฮวาห์เป็นความรอด” ตามที่ทูตสวรรค์แจ้งแก่โยเซฟ ว่าเด็กที่จะเกิดแก่นางมารีย์นั้น จะมีนามว่า “เยซู” “เพราะว่าท่านเป็นผู้ที่จะโปรดช่วยชนชาติของท่านให้รอดจากความผิดบาปของเขา” (มัทธิว 1:21) พระเยซูทรงเป็นหนทาง ความรอดของพระเจ้า เป็นผู้ที่พระเจ้าจะทำให้แผนการความรอดเพื่อคนบาปทั้งหลายสำเร็จลง พระองค์ทรงเป็นผู้เดียว ที่มีคุณสมบัติพอสำหรับพระราชกิจนี้ เพราะพระองค์ทรงเป็นทั้งพระเจ้าและมนุษย์ ทรงปราศจากบาป จึงทรงเป็น “ลูกแกะ ของพระเจ้า” ที่สมบูรณ์ ไร้ตำหนิ การสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน ไม่ใช่เป็นเพราะบาปของพระองค์ แต่เป็นบาปของเรา ทุกครั้งที่เราฉลองพิธีมหาสนิท เรากำลังนมัสการพระเยซูผู้เป็นพระผู้ช่วยให้รอด เป็นผู้ช่วยกอบกู้เราให้พ้นจากโทษความผิดบาป

พระเยซูทรงถูกเรียกอีกด้วยว่าเป็น องค์ “อิมมานูเอล” ตามคำพยากรณ์ของอิสยาห์ 7:14 เราไม่มีเวลาพอที่จะเจาะเรื่องนี้ เป็นไปได้ว่าอิสยาห์เองยังไม่เข้าใจในสิ่งที่ท่านพยากรณ์ ว่าหมายถึงพระเมสซิยาห์ที่จะเสด็จมาในอนาคต (ดู 1เปโตร 1:10-12) ตามข้อพระคำในพระคัมภีร์เดิมที่มัทธิวยกมา ยังเห็นไม่ชัดเจน เหมือนยังมีม่านบัง ถึงพระราชกิจของพระเมสซิยาห์ ซึ่งกินความหมายลึกซึ้งกว้างไกลกว่าจะบรรยายเป็นคำพูดได้ ส่วนมากสิ่งที่เป็นเหมือนม่านบัง จะไม่มีใครมองทะลุได้หมด จนพระราชกิจของพระคริสต์สำเร็จลง โดยเดชพระวิญญาณบริสุทธิ์ “อิมมานูเอล” แปลว่า “พระเจ้าอยู่ด้วยกับเรา” ในการลง มาบังเกิด พระเจ้าเสด็จเข้ามาในโลกนี้ มารับสภาพเนื้อหนัง อยู่ท่ามกลางมนุษย์ ท่านยอห์นพูดถึงเรื่องนี้ไว้อย่างสวยงามว่า :

พระวาทะได้ทรงบังเกิดเป็นมนุษย์และทรง อยู่ท่ามกลางเรา บริบูรณ์ด้วยพระคุณและความจริง เราทั้งหลายได้เห็นพระสิริของพระองค์ คือพระสิริอันสมกับพระบุตรองค์เดียวของพระบิดา ยอห์น ได้เป็นพยานให้แก่พระองค์ และร้องประกาศว่า “นี่แหละคือพระองค์ผู้ที่ข้าพเจ้าได้กล่าวถึงว่าพระองค์ผู้ เสด็จมาภายหลังข้าพเจ้าทรงเป็นใหญ่กว่าข้าพเจ้า เพราะว่าพระองค์ทรงดำรงอยู่ก่อนข้าพเจ้า” และ เราทั้งหลายได้รับจากความบริบูรณ์ของพระองค์ เป็นพระคุณซ้อนพระคุณ เพราะว่าพระเจ้าได้ทรง ประทานธรรมบัญญัตินั้นทางโมเสส ส่วนพระคุณและความจริงมาทางพระเยซูคริสต์ ไม่มีใครเคยเห็น พระเจ้าเลย พระบุตรองค์เดียวผู้ทรงสถิตอยู่ในพระทรวงของพระบิดา พระองค์ได้ทรงสำแดงพระเจ้าแล้ว (ยอห์น 1:14-18)

การสถิตอยู่ของพระเจ้าท่ามกลางเรา ไม่ใช่แป็นเวลาแค่สามสี่ปีที่พระเยซูทำพันธกิจบนที่โลก ถ้อยคำสุดท้ายของพระกิตติคุณ มัทธิว ทำให้ผู้อ่านมั่นใจว่าพระองค์จะสถิตกับเรา จนถึงสิ้นยุค :

พระเยซูจึงเสด็จเข้ามาใกล้แล้วตรัสกับเขา ว่า “ฤทธานุภาพทั้งสิ้นในสวรรค์ก็ดี ในแผ่นดินโลกก็ดี ทรงมอบไว้แก่เราแล้ว เหตุฉะนั้นเจ้าทั้งหลายจงออกไปสั่งสอนชนทุกชาติ ให้เป็นสาวกของเรา ให้รับบัพติศมาในพระนามแห่งพระบิดา พระบุตรและพระวิญญาณบริสุทธิ์ สอนเขาให้ถือรักษาสิ่งสารพัดซึ่งเราได้สั่งพวกเจ้าไว้ นี่แหละเราจะอยู่กับเจ้าทั้งหลายเสมอไป จนกว่าจะสิ้นยุค” (มัทธิว 28:18-20)

ด้วยเหตุที่พระองค์ทรงยัง “อยู่กับเรา” พระองค์ทรงส่งพระวิญญาณของพระองค์ มาอยู่ท่ามกลางเรา และภายในเรา :

เราจะทูลขอพระบิดา และพระองค์จะประทานผู้ช่วยอีกผู้หนึ่งให้แก่ท่าน เพื่อจะได้อยู่กับท่านตลอดไป คือพระวิญญาณแห่งความจริง ซึ่งโลกรับไว้ไม่ได้ เพราะแลไม่เห็นและไม่รู้จักพระองค์ ท่านทั้งหลาย รู้จักพระองค์ เพราะพระองค์ทรงสถิตอยู่กับท่าน และจะประทับอยู่ในท่าน (ยอห์น 14:16-17)

สำหรับพวกเรา บ่อยครั้งหลงลืมความสำคัญของ “อิมมานูเอล” ไป เมื่อไม่นานมานี้ผมกลับไปอ่านพระคัมภีร์เดิมห้าเล่มแรกอีกครั้ง ทึ่งครับ กับสิ่งที่ธรรมิกชนในยุคพระคัมภีร์ใหม่ได้รับ การมีประสบการณ์ความชื่นชมยินดี ความรู้สึกปลอดภัย ใน “การสถิตอยู่กับเรา” ของ พระองค์ ชนิดที่ธรรมิกชนในพระคัมภีร์เดิมไม่มีโอกาสได้รับ ลองคิดถึงความต่างของธรรมิกชนใน ยุคพระคัมภีร์เดิม เช่นเรื่อง “ระยะทาง” และความเป็นอยู่ของคนในยุคนั้น:

พระเจ้าเสด็จลงมาบนยอดภูเขาซีนาย พระเจ้าทรงเรียกโมเสสให้ขึ้นไปบนยอดเขา โมเสสก็ขึ้นไป พระเจ้าตรัสสั่งโมเสสว่า “เจ้าจงลงไปกำชับประชาชน เกรงว่าเขาจะล่วงล้ำเข้ามาถึงพระเจ้า เพราะอยาก เห็น แล้วเขาจะพินาศเสียเป็นจำนวนมาก อีกประการหนึ่ง พวกปุโรหิต ที่เข้ามาเฝ้าพระเจ้า นั้นให้เขาชำระตัวให้บริสุทธิ์ ด้วยเกรงว่าพระเจ้าจะทรงพระพิโรธลงโทษเขา” ฝ่ายโมเสสกราบทูล พระเจ้าว่า”ประชาชนขึ้นมาบนภูเขาซีนายไม่ได้ เพราะพระองค์ทรงสั่งข้าพระองค์ทั้งหลายว่า ‘จงกั้น เขตรอบภูเขานั้น ชำระให้เป็นที่บริสุทธิ์’” พระเจ้าจึงตรัสกับโมเสสว่า “ลงไปเถิด แล้วกลับขึ้นมาอีก พาอาโรนขึ้นมาด้วย แต่อย่าให้พวกปุโรหิตและประชาชนล่วงล้ำขึ้นมาถึงพระเจ้า เกรงว่าพระองค์จะลงโทษเขา” โมเสสก็ลงไปบอกประชาชนตามนั้น (อพยพ 19:20-25)

ในอพยพ 32 ชาวอิสราเอลทำบาปใหญ่หลวงเมื่อโมเสสไม่อยู่ พวกเขายุให้อาโรนทำวัวทองคำ และเริ่มนมัสการมัน พระเจ้า ประสงค์จะกำจัดคนอิสราเอลให้หมดสิ้น และสร้างพงศ์พันธ์ขึ้นมาใหม่โดยทางโมเสส เมื่อโมเสสเข้ามาช่วยกู้สถานการณ์ พระเจ้าทรงยอมให้ โดยส่งทูตสวรรค์มานำคนอิสราเอลไปยังดินแดนพันธสัญญา แต่พระองค์ตรัสว่าจะไม่ไปด้วยเพราะ เหตุว่า:

เราจะใช้ทูตผู้หนึ่งนำหน้าเจ้าไปและจะไล่ คนคานาอัน คนอาโมไรต์ คนฮิตไทต์ คนเปริสซี คนฮีไวต์ คนเยบุส ออกเสียจากที่นั่น จงนำไปถึงแผ่นดินซึ่งมีน้ำนมและน้ำผึ้งไหลบริบูรณ์ แต่เราจะไม่ขึ้นไปกับพวกเจ้า เกรงว่าเราจะทำลายล้างพวกเจ้าเสียกลางทาง เพราะว่าเจ้าเป็นชนชาติที่หัวแข็ง” (อพยพ 33:2-3)

แต่แล้วพระเจ้าก็ยอมไปด้วย พระองค์ทรงสถิตอยู่ท่ามกลางประชากรของพระองค์ ในอภิสุทธิสถานในพลับพลา ถึงกระนั้น ก็ยังมีสิ่งที่ขวางกั้นระหว่างมนุษย์และพระเจ้า ม่านในพลับพลา ที่ปุโรหิตใช้กั้น แยกประชากรอิสราเอล ออกจากพระเจ้า :

ให้คนอิสราเอลตั้งเต็นท์ตามที่ของตนแต่ละ พวก และแต่ละคนตามค่ายของตน และแต่ละคนตามธงเผ่าของตน แต่ให้คนเลวีตั้งเต็นท์รอบพลับพลาพระโอวาท เพื่อมิให้พระพิโรธเกิดเหนือชุมนุมชนอิสราเอล ให้เผ่าเลวีปฏิบัติ งานพลับพลาพระโอวาท” (กันดารวิถี 1:52-53)

มนุษย์ไม่อาจเข้าเฝ้าพระเจ้าได้ โดยไม่มีเครื่องถวายบูชา ถึงกระนั้นก็ยังมีขอบเขตในการเข้าเฝ้า ช่างแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับเมื่อพระเยซูถือกำเนิดขึ้นมาในโลกนี้ :

ซึ่งมีตั้งแต่ปฐมกาล ซึ่งเราได้ยิน ซึ่งเราได้เห็นกับตา ซึ่งเราได้พินิจดู และจับต้องด้วยมือของเรานั้น เกี่ยวกับพระวาทะแห่งชีวิต (และชีวิตนั้นได้ปรากฏ และเราได้เห็น และเป็นพยาน และประกาศชีวิต นิรันดร์นั้นแก่ท่านทั้งหลาย ชีวิตนั้นได้ดำรงอยู่กับพระบิดาและได้ปรากฏแก่เราทั้งหลาย) (1ยอห์น 1:1-2)

เรามาโบสถ์ด้วยความแน่ใจว่าพระเจ้าสถิตอยู่ เราไม่ต้องนำเครื่องเผาบูชามาถวาย เราไม่ถูกกำจัดขอบเขตการเข้าเฝ้า และขณะที่พระเจ้าอยู่กับเราในโบสถ์ พระองค์สถิตอยู่ในเราเสมอโดยพระวิญญาณบริสุทธิ์ และจะอยู่ต่อไปจนสิ้นยุค ผู้ที่ช่วยกู้เรา คือผู้ที่อยู่ติดสนิทกับเรา และพระองค์สัญญาว่าจะไม่ทอดทิ้งเราเลย :

ท่านจงอย่าเป็นคนเห็นแก่เงิน จงพอใจในสิ่งที่ท่านมีอยู่ เพราะว่าพระองค์ได้ตรัสว่า เราจะไม่ละท่าน หรือทอดทิ้งท่านเลย เหตุฉะนั้นเราทั้งหลายอาจกล่าวด้วยใจเชื่อมั่นว่า องค์พระผู้เป็นเจ้า ทรงเป็นพระ ผู้ช่วยของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่กลัว มนุษย์จะทำอะไรแก่ข้าพเจ้าได้เล่า? (ฮีบรู 13:5-6)

เราไม่เห็นจะต้องกลัวเมื่ออยู่ ใกล้องค์พระผู้เป็นเจ้าของเราอย่างที่ธรรมิกชนในพระคัมภีร์เดิมเคยเป็น ในพระคริสต์เรามีหน ทางเข้าเฝ้าพระเจ้า และเราสามารถเข้าไปด้วยใจกล้าหาญ :

เหตุฉะนั้นพี่น้องทั้งหลาย เมื่อเรามีใจกล้าที่จะเข้าไปสู่สถานศักดิ์สิทธิ์โดยพระโลหิตของพระเยซู ตามทางใหม่และเป็นทางที่มีชีวิต ซึ่งพระองค์ได้ทรงเปิดออกให้เราผ่านเข้าไปทางม่านนั้น คือทาง พระกายของพระองค์ และเมื่อเรามีปุโรหิตใหญ่เหนือหมู่คนของพระเจ้าแล้ว ก็ให้เราเข้าไปใกล้ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ด้วยไว้ใจเต็มที่ มีใจที่ได้รับการทรงชำระให้สะอาดแล้ว และมีกายที่ล้างชำระด้วยน้ำ บริสุทธิ์ ขอให้เรายึดมั่นในความหวังที่เราทั้งหลายเชื่อและรับไว้นั้น โดยไม่หวั่นไหว เพราะว่าพระองค์ผู้ทรงประทานพระสัญญานั้นทรงสัตย์ซื่อ และขอให้เราพิจารณาดูว่า จะทำอย่างไร จึงจะ ปลุกใจซึ่งกันและกันให้มีความรักและทำความดี อย่าขาดการประชุมเหมือนอย่างบางคนที่ขาดอยู่นั้น แต่จงพูดหนุนใจกันให้มากยิ่งขึ้น เพราะท่านทั้งหลายก็รู้อยู่ว่าวันนั้นใกล้เข้ามาแล้ว (ฮีบรู 10:19-25)

คิดดูดีๆ ผู้ที่ช่วยมนุษย์ให้พ้นจากความผิดบาป สัญญาว่าจะอยู่ท่ามกลางเรา และอยู่กับเรา เป็นได้อย่างไรกัน? เราจะสัมผัสถึงการช่วยกู้ และการทรงอยู่กับเราได้อย่างไร? โดยทางพระเยซูคริสต์เท่านั้น เราต้องสารภาพบาปผิดของเรา และวางใจในองค์พระเยซู ว่าพระองค์ทรงโปรดยกโทษให้ เราต้องรับพระองค์เป็นพระผู้ช่วยให้รอด และเมื่อนั้นพระองค์จะทรงช่วยเรา และสถิตอยู่กับเรา คุณรับพระองค์เป็นพระผู้ช่วยแล้วหรือยัง? พระองค์สถิตอยู่กับคุณและภายในคุณหรือยัง? นี่เป็นพระ ราชกิจที่พระองค์เสด็จมากระทำบนโลกนี้ ผมภาวนาขอให้คุณมีโอกาสรู้จักพระองค์ ได้ต้อนรับพระองค์เป็นพระผู้ช่วยให้รอด และเป็นผู้อยู่เคียงข้างคุณตลอดไป

โดย : Robert L (Bob) Deffinbaugh

ได้รับอนุญาตและเป็นลิขสิทธิของ https://bible.org/

แปล : อรอวล ระงับภัย (Church of Joy)


1 เป็นลิขสิทธิ์ของ (Copyright © 2003) Community Bible Chapel, 418 E. Main Street, Richardson, TX 75081. บทเรียนพระธรรมมัทธิวบทนี้ (Studies in the Gospel of Matthew ) จัด เตรียมโดย Robert L. Deffinbaugh เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2003 สามารถนำไปใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น ทางคริสตจักรของเราเชื่อว่าบทเรียนเหล่านี้ ถูกต้องตรงตามพระ วจนะคำทุกประการ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการศึกษาเพิ่มเติม ไม่มีการหวงห้ามถ้าต้องการใช้สำหรับการเรียนการสอนพระวจนะ เป็นงานของ Community Bible Chapel.

2 นอกจากที่กล่าวไปแล้ว พระวจนะที่นำมาอ้างอิงทั้งหมดมาจาก NET Bible (The NEW ENGLISH TRANSLATION) เป็นฉบับแปลใหม่ทั้งหมด ไม่ใช่นำฉบับเก่าในภาษาอังกฤษมาเรียบเรียงใหม่ ใช้ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการพระคัมภีร์มากกว่า ยี่สิบคน รวบรวมข้อมูล ทั้งจากภาษาฮีบรูโดยตรง ภาษาอาราเมข และภาษากรีก โครงการแปลนี้เริ่มมาจากที่เราต้องการนำพระคัมภีร์ เผยแพร่ผ่านสื่ออีเลคโทรนิค เพื่อรองรับการใช้งานทางอินเตอร์เน็ท และซีดี (compact disk) ที่ใดก็ตามในโลก ที่ต่อเข้าอินเตอร์เน็ทได้ ก็สามารถเรียกดู และพริ้นทข้อมูลไว้เพื่อใช้ศึกษาเป็นการส่วนตัวได้โดยไม่คิดมูลค่า นอกจากนี้ ผู้ใดก็ตาม ที่ต้องการนำข้อมูลเกี่ยวกับพระคัมภีร์ไปเผยแพร่ต่อโดยไม่คิดเงิน สามารถทำได้จากเว็บไซด์ : www.netbible.org.

3 อ้างจากข้อเขียนของ Michael Green, Matthew For Today: Expository Study of Matthew (Dallas, Texas: Word Publishing, 1989), p. 37.

4 อ้างจากข้อเขียนของ James Montgomery Boice, The Gospel of Matthew (Grand Rapids, Michigan: Baker Books, 2001), vol. 1, p. 16.

5 จาก Boice, p. 16, citing J. Gresham Machen, The Virgin Birth of Christ (1930; reprint, London: James Clarke, 1958), p. 209.

6 จาก Boice, p. 17.

7 ทอม ไรท์ เพื่อนของผมชี้ข้อสังเกตุนี้ให้เห็น หลังจากที่ผมได้เทศนาพระธรรมตอนนี้ไปแล้ว

8 จาก Fredrick Dale Bruner, The Christbook: A Historical/Theological Commentary (Waco, Texas: Word Books, 1987), vol. 1, p. 6.

9 อย่าลืมว่ายูดาห์เองยังสารภาพว่าทามาร์นั้น “ชอบธรรมยิ่งกว่าเรา” (ปฐก. 38:26) บัทเชบาตกเป็นเหยื่อ มากกว่า จะเป็นผู้ล่อลวง (2 ซมอ. 12:1-4) และราหับมีชื่ออยู่ใน “ทำเนียบผู้เชื่อ” (ฮีบรู 11:31).

10 จาก Bruner, p. 6.

11 อย่างที่นาธานาเอลกล่าวไว้ (และต่อมามัทธิวก็แสดงให้เราเห็น) ว่าพระเยซูทรงเป็น “บุตรพระเจ้า” ดังนั้นพระองค์จึงเป็น “กษัตริย์ของอิสราเอล” (ยอห์น 1:49).

12 ผู้อ่านคงพอรู้สึกว่าผม “ยึดติด” กับข้อสังเกตูของนักวิชาการหลายต่อหลายคน จนทำให้เกิดเป็นข้อสรุปข้อที่หก

13 จาก James Montgomery Boice, vol. 1, p. 15.

14 จาก M ichael Green, p. 37.

15 J. จากผู้เขียนชื่อ Sidlow Baxter, Explore the Book (Grand Rapids, Michigan: Zondervan Publishing House, 1960), Six volumes in one, vol. 5, p. 148.

16 จาก Bruner p. 13.

17 ผมรู้สึกดีใจที่บรูเนอร์ตั้งข้อสังเกตุนี้ ท่านยังชี้ให้เป็นอีกว่ารายชื่อตอนที่สามนี้มีแค่ 13 ชื่อ ไม่ใช่ 14 ผมคงต้องขอคิดแตก ต่างจากบรูเนอร์ในเรื่องนี้ เพราะมัทธิวเองเป็นปุถุชน อาจมีข้อบกพร่องบ้างเช่นเดียวกับเราทั้งหลาย ตามมุมมองของผม เราไม่ควรด่วนสรุปเอาเองเรื่องการดลใจและข้อผิดพลาด ยอห์น มอร์เรอ เพื่อนสนิทของผมเคยกล่าวไว้ว่า : “มัทธิวนั้นเป็นคนเก็บภาษี เขาต้องนับเลขเป็น” ผมคิดว่ามีคำตอบสำหรับเรื่องนี้ ซึ่งไม่ใช่ข้อผิดพลาดของมัทธิว

18 จาก Bruner, p. 4.

19 จาก Bruner, p. 13.

Related Topics: Incarnation

2. การเดินทางแสนมหัศจรรย์ทั้งสอง (มัทธิว 2:1-23)

Related Media

มัทธิว 2:1-231

พระเยซูได้ทรงบังเกิดที่บ้านเบธเลเฮ มแคว้นยูเดียในรัชกาลของกษัตริย์เฮโรด ภายหลังมีพวก โหราจารย์จากทิศตะวันออกมายังกรุงเยรูซาเล็มถามว่า “กุมารผู้ที่บังเกิดมาเป็นกษัตริย์ของ ชนชาติยิวนั้นอยู่ที่ไหน เราได้เห็นดาวของท่านปรากฏขึ้น เราจึงมาหวังจะ นมัสการท่าน” ครั้นกษัตริย์เฮโรด ได้ยินดังนั้นแล้ว ก็วุ่นวายพระทัย ทั้งชาวกรุงเยรูซาเล็ม ก็พลอยวุ่นวายใจไปด้วย แล้วท่านให้ประชุมบรรดามหาปุโรหิตกับพวกธรรมาจารย์ ของประชาชนตรัสถามเขาว่า “ผู้เป็นพระคริสต์นั้น จะบังเกิดแห่งใด” เขาทูลว่า “ที่บ้านเบธเลเฮมแคว้นยูเดีย เพราะว่าผู้เผยพระ วจนะได้เขียนไว้ดังนี้ว่า บ้านเบธเลเฮม ในแผ่นดินยูเดีย จะ เป็นบ้านเล็กน้อยที่สุด ในสายตาของบรรดาผู้ครองแผ่นดินยูเดีย ก็หามิได้ เพราะว่าเจ้านายคนหนึ่งจะออกมาจากท่านผู้ซึ่งจะครอบครองอิสราเอล ชนชาติของเรา” แล้วเฮโรดจึงเชิญพวกโหราจารย์เข้ามาเป็นการลับ ถามเขาได้ความถ้วนถี่ถึงเวลาที่ดาวนั้นได้ ปรากฏขึ้น แล้วท่าน ได้ให้ พวกโหราจารย์ ไปยังบ้านเบธเลเฮมสั่งว่า “จงไปค้นหากุมาร นั้นเถิด เมื่อพบแล้วจงกลับมาแจ้งแก่เรา เพื่อเรา จะได้ไปนมัสการท่านด้วย” โหราจารย์ เหล่านั้นจึงไปตามรับสั่ง และดาวซึ่งเขาได้เห็นเมื่อ ปรากฏขึ้นนั้นก็ได้นำหน้าเขาไป จนมาหยุดอยู่เหนือ สถานที่ที่กุมารอยู่นั้น เมื่อพวกโหราจารย์ ได้เห็นดาวนั้นแล้ว ก็มีความยินดี ยิ่งนัก ครั้นเข้าไป ในเรือนก็พบกุมารกับนางมารีย์มารดา จึงกราบถวายนมัสการกุมารนั้น แล้วเปิดหีบหยิบทรัพย์ของ เขาออกมาถวายแก่กุมาร เป็นเครื่อง บรรณาการ คือ ทองคำ กำยาน และมดยอบ แล้วพวก โหราจารย์ได้ยินคำเตือนใน ความฝัน มิให้กลับไปเฝ้าเฮโรด เขาจึงกลับไปยังเมืองของตนทางอื่น ครั้นเขาไปแล้วก็มีทูตองค์หนึ่งของพระเป็นเจ้า ได้มาปรากฏแก่โยเซฟในความฝันแล้วบอกว่า “จงลุกขึ้นพากุมารกับมารดาหนี ไปประเทศอียิปต์ และคอยอยู่ที่นั่นจนกว่าเราจะบอกเจ้าเพราะ ว่าเฮโรดจะแสวงหากุมาร เพื่อจะประหารชีวิตเสีย” ในเวลากลางคืนโยเซฟจึงลุกขึ้น พากุมาร กับมารดาไปยังประเทศอียิปต์ และได้อยู่ที่นั่นจนเฮโรดสิ้นพระชนม์ ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จ ตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่ง ได้ตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า เราได้เรียกบุตรของเราให้ออก มาจากอียิปต์ ครั้นเฮโรดเห็นว่าพวกโหราจารย์หลอกท่าน ก็กริ้วโกรธยิ่งนัก จึงใช้คนไปฆ่าเด็กผู้ชายทั้งหลาย ใน บ้านเบธเลเฮม และที่ใกล้เคียงทั้งสิ้น ตั้งแต่อายุสองขวบลงมา ซึ่งพอดีกับเวลาที่ท่านได้ทราบ จากพวกโหราจารย์นั้น ครั้งนั้นก็สำเร็จตามพระวจนะที่ตรัสโดยเยเรมีย์ ผู้เผยพระวจนะว่า ได้ ยินเสียงในหมู่บ้านรามาห์ เป็นเสียงโอดครวญและร่ำไห้ คือนางราเชลร้อง ไห้คร่ำครวญเพราะบุตรทั้งหลายของตน นางไม่รับฟังคำปลอบเล้าโลม เพราะบุตรทั้งหลาย นั้นไม่มีแล้ว ครั้นเฮโรดสิ้นพระชนม์แล้ว ทูตองค์หนึ่ง ของพระเป็นเจ้ามาปรากฏในความฝันแก่โยเซฟที่ประเทศอียิปต์สั่งว่า “จงลุกขึ้น พากุมารกับมารดามายังแผ่นดินอิสราเอล เพราะผู้ที่เป็นภัยต่อชีวิตของกุมารนั้นตายแล้ว” โยเซฟจึงลุกขึ้น พากุมารกับมารดามายัง แผ่นดินอิสราเอล แต่เมื่อได้ยินว่า อารเคลาอัสครอบ ครองแคว้นยูเดียแทนเฮโรดผู้เป็นบิดา จะไปที่นั่นก็กลัว และเมื่อได้ทราบคำเตือนใน ความฝัน จึงเลยไปยังแคว้นกาลิลี ไปอาศัยในเมืองหนึ่งชื่อนาซาเร็ธ เพื่อจะสำเร็จตามพระวจนะ ซึ่งตรัส โดยผู้เผยพระวจนะ เขาจะเรียก ท่านว่าชาวนาซาเร็ธ2

คำนำ

หลายปีมาแล้วผมทำพิธีศพให้หญิงชราท่านหนึ่ง (ขอเรียกชื่อว่าซาร่าห์แล้วกัน) เธอเติบโตในโอคลาโฮมา สมัยยังสาวบิดามารดาของเธอมีส่วนในการเข้ายึดครองที่ดินของโอคลาโฮมาในยุค บุกเบิก ในสมัยนั้นคนอเมริกันกับคนพื้นเมืองดั้งเดิมเป็นปฏิปักษ์กัน แม้พิธีศพนี้นานมาแล้ว แต่ผมยังจำได้ ถึงเรื่องที่น้องสาวของซาราห์เล่าให้ฟัง

ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ผู้คนยังสัญจรไปมาด้วยรถม้า ซาราห์มีลุงคนหนึ่งเป็นนักผจญภัย และอยากไปเห็นภูเขาไพค์พีกในโคโรราโดเป็นที่สุด คุณลุงจึงขนครอบครัวรวมทั้งซาราห์ด้วย ขึ้นรถม้ามุ่งไปยัง โคโรราโด เท่าที่จำได้การเดินทางครั้งนั้นกินเวลาเกือบปี คุณนึกภาพออกมั้ย เดินทางไปโคโรราโดด้วยรถม้าที่ปิดแทบทุกด้าน มีปฎิปักษ์เป็นพวกอินเดียนแดง เป็นการเดินทางที่ยาวไกลและเสี่ยงภัยมาก ผมแทบไม่อยากนึกเลย โดยเฉพาะต้องปีนขึ้นเขาด้วยรถม้า และที่น่าหวาดเสียวกว่าคือ “ลง” จากภูขาด้วยรถม้า!!

สำหรับผม เรื่องย้อนยุคตั้งแต่ ค.ศ. 1800 น่าจะใกล้เคียงกับการเดินทาง “มหัศจรรย์” ของพวกโหราจารย์ที่สุด เหล่าโหราจารย์เดินทางจากตะวันออกไกลไปเบธเลเฮมและกลับ คงกินเวลาหลายเดือน นักผจญภัยเหล่านี้จากบ้านและครอบครัวมา ฝ่าฟันอันตรายสารพัดแบบ รวมทั้งพวกโจรด้วย พวกเขาเป็นคนมั่งคั่ง ขบวนคาราวานเป็นตัวบอกได้ดีถึงฐานะ แถมขนสัมภาระมีค่ามาด้วย : ทองคำ กำยาน และมดยอบ ติดตามดาวประหลาดมา จนถึงเขตปกครองของเฮโรด ผู้มีทั้งอำนาจและความโหดเหี้ยม

เรื่องนี้ไม่ใช่เป็นแค่การผจญภัยมหัศจรรย์เท่านั้น พระกิตติคุณมัทธิวบทที่ 2 พูดถึงการเดินทางของโยเซฟ มารีย์ และพระกุมาร จากเบธเลเฮมไปประเทศอียิปต์ ไม่มีเวลาเตรียมการใดๆ หยิบของได้ไม่กี่ชิ้น รีบหนีไปอย่างเร่งรีบ เพื่อให้พ้นจากเงื้อมมือของเฮโรดที่มุ่งสังหารทารกทุกคน และเมื่อเวลาเสี่ยงภัยผ่านพ้น ไป ยังต้องอพยพกลับสู่บ้านเกิด

เรื่องราวการเดินทางมหัศจรรย์นี้บันทึกอยู่ในมัทธิวบทที่ 2 ปัญหาของพวกเราคือ เรื่องเล่าพวกนี้ ได้ยินจนชินหู เลยไม่เคยกลับมาคิดย้อนดู ที่จริงแล้วมีคุณค่ามากมายที่เราต้องใส่ใจศึกษา ขอเริ่มด้วยการตั้งข้อสังเกตบางประการในคำบอกเล่าของมัทธิว หลังจากนั้นจะมุ่งไปที่บุคคลโดดเด่นสามคนในพระวจนะตอนนี้ : โหราจารย์ – เฮโรดกับชาวยิวในเยรูซาเล็ม – และพระกุมารเยซู

ข้อสังเกต

(1) มัทธิวใส่ใจที่จะหลีกเลี่ยงเรื่องตื่นเต้นต่างๆ ถ้าเป็นสมัยนี้ ท่านคงเป็นนักข่าวตกงาน เพราะทำเรื่องตื่นเต้นให้เป็นเรื่องธรรมดา ท่านไม่พยามเติมสีใส่ไข่ในเรืองที่เขียน แถมยังหลีกเลี่ยงรายละเอียดเล็กๆน้อยๆที่ทำให้ตื่นเต้นสมจริงด้วย ตัวอย่างเช่น การเดินทางเพื่อหนีไปที่อียิปต์ ต้องมีเรื่องอัศจรรย์เกิดขึ้นระหว่างทางมากมายแน่ :

หนังสือเรื่องพระเยซูฉบับอาโปรคริปปา เขียนขึ้นหลายปีหลังหนังสือพระกิตติคุณในพระคัมภีร์ เล่าเรื่องแปลกๆมากมายเกี่ยวกับการเดินทางหนีไปประเทศอียิปต์ของครอบครัวนี้ เช่นเล่าว่าเมื่อก้าวเท้าเข้าสู่แผ่นดินอียิปต์ มีดอกไม้ผุดขึ้นมารองรับ ; ต้นหมากรากไม้โน้มกิ่งลงแสดงความเคารพ สัตว์ป่าวิ่งมาต้อนรับอย่างเป็นมิตร3

(2) มัทธิวตัดทอนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่เราๆท่านๆอยากรู้ออกไปเกือบหมด ทำให้มีคำถามเกิดขึ้น ที่จริงแล้วเราไม่รู้จำนวนแท้จริงของโหราจารย์ที่มานมัสการพระกุมารเยซู เราอยากให้มีรายละเอียดมากกว่านี้ในพระคัมภีร์ อยากรู้ว่าพวกเขามาจากไหน? เชื่อถือเรื่องอะไร? “ดาว” ประหลาดที่ว่านี้คือดาวอะไร? นำทางคนพวกนี้มาได้อย่างไร? ใช้เวลาเดินทางนานแค่ไหน? กลับจากนมัสการพระเยซูแล้วเป็นอย่างไร? เฮโรดฆ่าเด็กตายไปกี่คน? แล้วกรรมตามสนองอย่างไร? เราอยากรู้เรื่องราวระหว่างที่ครอบครัวพระเยซูอาศัยอยู่ในประเทศอียิปต์ มัทธิวก็เช่นเดียวกับผู้เขียนพระกิตติคุณเล่มอื่นๆ4 ระมัดระวังต่อทุกสิ่งที่บันทึกลงในพระคัมภีร์

(3) การเลือกนำพระวจนะจากพระคัมภีร์เดิมมาใช้ มัทธิวทำได้อย่างน่าสนใจ เรารู้ดีว่าท่านนำพระวจนะจากพระคัมภีร์เดิมมาใช้มากกว่าพระกิตติคุณเล่ม อื่นๆ เราต้องคำนึงว่าท่านไม่ได้นำพระวจนะจากพระ คัมภีร์เดิมมาใช้แบบหมดเปลือก ไม่ได้นำทุกตอนที่เกี่ยวข้องชัดเจนมาใช้ บางตอนเราออกจะงงๆด้วยซ้ำไป ในบทที่ 2 ท่านนำข้อพระคัมภีร์เดิมมาใช้ถึงสี่ครั้ง และหนึ่งในสี่นี้อาจเรียกได้ว่าเป็นการนำมาใช้อย่างตรงๆ เช่นจากมีคาห์ 5:2 ในข้อ 6 คำถามที่เฮโรดถามมหาปุโรหิตและพวกธรรมาจารย์ว่า “ผู้เป็นพระคริสต์นั้น จะบังเกิดแห่งใด?” พวกเขาตอบอย่างชัดเจนจากพระธรรมมีคาห์ 5:2 – พระเมสซิยาห์จะมาบังเกิดที่เบธเลเฮม

ข้อพระคำอื่นๆที่นำมาใช้ในบทที่ 2 ออกจะไม่ชัดเจน จนแทบไม่มีใครคิดว่าเป็นคำพยากรณ์ ไม่ว่าจะเป็นโฮเชยา 11:1 (ในข้อ 15) หรือเยเรมีย์ 31:15 (ในข้อ 18) ว่าเป็นคำพยากรณ์ที่เล็งถึงการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ คำพูดที่มัทธิวใช้ “ตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะ” ได้สำเร็จเป็นจริง ยิ่งทำให้ดูคลุมเครือใหญ่ การที่ท่านนำคำพยากรณ์ที่ดู “คลุมเครือ” นี้มาใช้ ทำให้เราสงสัย ทำไมถึงไม่นำคำพยากรณ์ข้ออื่นที่ชัดเจนกว่านี้มาแทน เพื่อจะได้เห็นชัดว่าสำเร็จจริง ตัวอย่างเช่นคำพยากรณ์ต่อไปนี้ :

ดาวของบาลาอัม
กันดารวิถี 24:14-19

ดูเถิด บัดนี้ข้าพเจ้าจะกลับไปสู่ชนชาติของข้าพเจ้า มาเถิด ข้าพเจ้าจะสำแดง ให้ท่านทราบว่า ชนชาตินี้จะกระทำประการใด แก่ชนชาติของท่านในวันข้างหน้า” เขาก็กล่าวกลอนภาษิตของเขาว่า “คำพยากรณ์ของบาลาอัมบุตรเบโอร์ คำ พยากรณ์ของชายผู้ที่หูตาแจ้ง คำพยากรณ์ของผู้ที่ได้ยินพระวจนะของพระเจ้า และทราบถึงพระปัญญาของพระองค์ผู้สูงสุด ผู้เห็นนิมิตขององค์ผู้ทรงมหิทธิฤทธิ์ได้ล้มลง แต่ตาไม่มีสิ่งใดบัง ข้าพเจ้าเห็นเขา แต่ไม่ใช่อย่างเดี๋ยวนี้ ข้าพเจ้าดูเขา แต่ไม่ใช่อย่างใกล้ๆนี้ ดาวดวงหนึ่งจะเดินออกมาจากยาโคบ และธารพระกร อันหนึ่งจะขึ้นมาจากอิสราเอล จะทุบหน้าผากของโมอับ และทำลายเผ่าพันธุ์ของเชท ฝ่ายเอโดมจะตกเป็นของคนอื่น เสอีร์ศัตรูของเขาจะตกเป็นของคนอื่นด้วย ฝ่ายอิสราเอลได้แสดงวีรกรรมแล้ว ผู้หนึ่งที่ออกมาจากยาโคบ จะครอบครอง และชาวเมืองที่รอดตายผู้นั้นจะทำลายเสีย” (กันดารวิถี 24:14-19 ผมขอย้ำด้วย)

ความสว่างของอิสราเอลต่อประชาชาติ
อิสยาห์ 60:1-14

จงลุกขึ้น ฉายแสง เพราะว่าความสว่างของเจ้ามาแล้ว และพระสิริของพระเจ้า ขึ้นมาเหนือเจ้า เพราะว่าดูเถิด ความมืดจะคลุมแผ่นดินโลก และความมืดทึบคลุม ชนชาติทั้งหลาย แต่พระเจ้าจะทรงขึ้นมาเหนือเจ้า และเขาจะเห็นพระสิริของพระองค์ เหนือเจ้า และบรรดาประชาชาติจะมายังความสว่างของเจ้า และพระราชาทั้งหลาย ยังความสุกใสแห่งการขึ้นของเจ้า จงเงยตาของเจ้ามองให้รอบ และดู เขาทั้งปวงมาอยู่ด้วยกัน เขาทั้งหลายมาหาเจ้า บุตรชายทั้งหลายของเจ้าจะมาจากที่ไกล และเขาจะอุ้มบุตรหญิงของเจ้ามา แล้วเจ้าจะเห็นและปลาบปลื้ม ใจของเจ้าจะตื่นเต้น และเปรมปรีดิ์ เพราะความมั่งคั่งของทะเลจะหันมาหาเจ้า ทรัพย์สมบัติของบรรดาประชา ชาติจะมายังเจ้า มวลอูฐจะมาห้อมล้อมเจ้า อูฐหนุ่มจากมีเดียนและเอฟาห์ บรรดา เหล่านั้นจากเชบาจะมา เขาจะนำทองคำและกำยาน และจะบอกข่าวดีถึงกิจการ อันน่าสรรเสริญของพระเจ้า ฝูงแพะแกะทั้งสิ้นแห่งเคดาร์จะรวมมาหาเจ้า แกะผู้ของ เนบาโยทจะปรนนิบัติเจ้า มันจะขึ้นไปบนแท่นบูชาของเราอย่างเป็นที่โปรดปราน และเรา จะให้นิเวศอันเรืองรุ่งของเรา ได้รับความรุ่งเรือง เหล่านี้เป็นใครนะที่บินมาเหมือนเมฆ และเหมือนนกพิราบไปยังหน้าต่างของมัน เพราะว่าแผ่นดินชายทะเลจะรอคอยเรา กำปั่นแห่งทารชิชก่อน เพื่อนำบุตรชายของเจ้ามาแต่ไกล นำเงินและทองคำของเขามาด้วย เพื่อพระนามแห่งพระเยโฮวาห์พระเจ้าของเจ้า และเพื่อองค์บริสุทธิ์แห่งอิสราเอล เพราะ พระองค์ได้ทรงกระทำให้เจ้ารุ่งเรือง คนต่างด้าวจะสร้างกำแพงของเจ้าขึ้น และพระราชา ของเขาจะปรนนิบัติเจ้า เพราะด้วยความพิโรธของเรา เราเฆี่ยนเจ้า แต่ด้วยความโปรดปราน ของเรา เราได้กรุณาเจ้า ประตูเมืองของเจ้าจะเปิดอยู่เสมอ ทั้งกลางวันและกลางคืน มันจะไม่ปิด เพื่อคนจะนำความมั่งคั่งของบรรดา ประชาชาติมาให้เจ้า พร้อมด้วยพระราชา ทั้งหลาย เพราะว่าประชาชาติและราชอาณาจักร ที่ไม่ปรนนิบัติเจ้าจะพินาศ เออ บรรดาประชาชาติเหล่านั้นจะถูกทิ้งร้างอย่างสิ้นเชิง ศักดิ์ศรีแห่งเลบานอนจะมายังเจ้า คือต้นสนสามใบ ต้นสนเขาและต้นช้องรำพันด้วยกัน เพื่อจะกระทำให้ที่แห่งสถาน ศักดิ์สิทธิ์ของเรางดงาม และเราจะกระทำให้ที่แห่งเท้าของเรารุ่งโรจน์ ลูกชายของคน เหล่านั้นที่ได้บีบบังคับเจ้า จะมาโค้งลงต่อเจ้า และบรรดาผู้ที่ดูหมิ่นเจ้า จะกราบลงที่ฝ่า เท้าของเจ้า เขาทั้งหลายจะเรียกเจ้าว่าเป็นพระนครของพระเจ้า ศิโยนแห่งองค์บริสุทธิ์ ของอิสราเอล (อิสยาห์ 60:1-14 ผมขอย้ำด้วย)

สดุดี 72:8-17

ขอท่านครอบครองจากทะเลถึงทะเล และจากแม่น้ำนั้นถึงที่สุดปลายแผ่นดินโลก บรรดาผู้ที่อยู่ในถิ่นทุรกันดารจะกราบลงต่อเขา และให้บรรดาศัตรูของท่านเลียผงคลี ขอบรรดาพระราชาแห่งเมืองทารชิชและของเกาะทั้งปวง ถวายราชบรรณาการ ขอบรรดาพระราชาแห่งเชบา และเสบา นำของกำนัลมา 11 ขอพระราชาทั้งปวง กราบลงไหว้ท่าน บรรดาประชาชาติจงปรนนิบัติท่าน เพราะ ท่านช่วยกู้คนขัดสน เมื่อเราร้องทูล คนยากจน และคนที่ไร้ผู้อุปถัมภ์ ท่านสงสารคนอ่อนเปลี้ยและคนขัดสน และช่วยชีวิตบรรดาคนขัดสน ท่านไถ่ชีวิตของเขาจากการบีบบังคับและความทารุณ และ โลหิตของเขาก็ประเสริฐในสายตาของท่าน ขอท่านผู้นั้นมีชีวิตยืนนาน ให้คนถวาย ทองคำเมืองเชบาแก่ท่าน ให้ เขาอธิษฐานเผื่อท่านเรื่อยไป และอวยพรท่านวันยังค่ำ ขอให้มีข้าวอุดมในแผ่นดิน ให้มันแกว่งไกวรวงอยู่บนยอดเขาทั้งหลาย ขอให้ผลของ แผ่นดินเหมือนเลบานอน และให้คนบานออกมาจากนคร เหมือนหญ้าในทุ่งนา ขอนาม ของท่านดำรงอยู่เป็นนิตย์ ชื่อเสียงของท่านยั่งยืนอย่างดวงอาทิตย์ ให้คนอวยพรกันเอง โดยใช้ชื่อท่าน ประชาชาติทั้งปวงเรียกท่านว่าผู้ได้รับพระพร ! (สดุดี 72:8-17)

มัทธิวไม่ได้เลือก (หรือละ) ข้อพระคัมภีร์เดิมตามใจชอบ ; ท่านเลือกอย่างระมัดระวัง ด้วยจุดประสงค์สำคัญบางประการ เราจะมาเจาะลึกเรื่องนี้ในบทเรียนหน้าครับ ตอนนี้เราจะมาดูเรื่อง บุคคลสำคัญทั้งสามในมัทธิวบทที่ 2 ก่อน

(4) มัทธิวเล่าถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกรุงเยรูซาเล็มอย่างต่อเนื่อง ผมคิดว่าเวลาพวกเราอ่านพระกิตติคุณมัทธิว เราชอบนึกตามไปด้วย ทำให้บางครั้งเดาเรื่องผิดไป วิธีที่พวกเราส่วนมากอ่านคือ เมื่อโหราจารย์มาถึงเยรูซาเล็ม ต้องมุ่งไปที่พระราชวังของเฮโรดทันที (ก็ถ้าจะไปหา “กษัตริย์ของชาวยิว” จะให้ไปที่ไหนกันเล่า?) พวกเขาถามเฮโรดถึงกษัตริย์ที่บังเกิดใหม่ “ กษัตริย์ของชาวยิว” เฮโรดเรื่มหวาดวิตก วุ่นวายใจเป็นอันมาก แต่ปกปิดความรู้สึกเอาไว้ จัดแจงเรียกบรรดามหาปุโรหิต และพวกธรรมาจารย์มา พวกเขาบอกเฮโรด (รวมทั้งโหราจารย์) ถึงคำพยากรณ์ของผู้เผยวจนะมีคาห์ เมื่อให้ทุกคนออกไป เฮโรดต้องการพูดกับพวกโหราจารย์ตามลำพัง เพื่อถามถึงเวลาที่ดาวประหลาดมาปรากฎ และเริ่มคำนวณเวลาเกิดของเด็ก และส่งพวกโหราจารย์ให้ไปยังเบธเลเฮมเพื่อตามหา และสั่งให้กลับมาบอกว่าพบเด็กนั้นได้ที่ใด ตามความคิดของผม เหตุการณ์นี้ไม่ได้สอดคล้องกับสิ่งที่มัทธิวเล่า

ถ้าถือเอาตามที่มัทธิวเล่า เราเข้าใจว่าเรื่องที่เกิดขึ้นในกรุงเยรูซาเล็ม ดำเนินไปตามขั้นตอนดังนี้

(a) พระเยซูมาบังเกิดที่เบธเลเฮม อาจจะประมาณหนึ่งปีก่อนหน้านี้5

(b) ดาวประหลาดนำพวกโหราจารย์มาจนถึงเยรูซาเล็ม และหายไป6

(c) เมื่อมาถึงเยรูซาเล็ม พวกโหราจารย์เริ่มสอบถามถึงพระกุมาร โดยถามจากผู้คนในเมือง

(d) เรื่องนี้ได้ยินถึงหูของเฮโรด ว่ามีเหล่าโหราจารย์เข้าเมืองเพื่อมาตามหาทารกเกิดใหม่ผู้เป็น “กษัตริย์ของชาวยิว” เพื่อจะไปนมัสการ

(e) เมื่อได้ยิน เฮโรดวุ่นวายเป็นทุกข์ใจมาก รวมทั้งผู้คนในกรุงเยรูซาเล็มด้วย

(f) เฮโรดเรียกบรรดามหาปุโรหิตและธรรมาจารย์มาเข้าเฝ้า สอบถามว่าพระเมสซิยาห์จะมาบังเกิดที่ใด ผมคิดว่าตอนที่สอบถาม พวกโหราจารย์คงไม่ได้อยู่ด้วย บรรดาผู้นำศาสนาทูลเฮโรดว่า พระเมสซิยาห์จะมาบังเกิดที่เมืองเบธเลเฮม ตามคำพยากรณ์ในมีคาห์ 5:2

(g) เฮโรดจึงเรียกพวกโหราจารย์มาเข้าเฝ้า (ตามลำพัง) ท่านถามว่าพวกเขา เห็น “ดาว” นี้ตั้งแต่เมื่อใด และเริ่มคำนวณเวลาเกิดและอายุของพระกุมาร

(h) เฮโรดจึงส่งพวกโหราจารย์ไปยังเบธเลเฮม เพื่อตามหาพระเมสซิยาห์ และสั่ง ให้กลับมาบอกถึงสถานที่ๆพบเด็กด้วย เพื่อจะได้ไปนมัสการบ้าง

(i) เมื่อโหราจารย์เดินทางไปที่เบธเลเฮม “ดาว” ก็ปรากฎขึ้นอีกครั้ง พวกเขายินดีเป็นอันมาก เพราะพระเจ้าทรงจัดเตรียมและนำพวกเขาอีกครั้ง

(j) “ดาว” นำพวกโหราจารย์ไปจนพบพระกุมาร และได้นมัสการพระองค์

เรื่องทั้งสองนี้ต่างกันหรือไม่? ถ้าจะไม่ แต่ว่าไม่น่าเสียหายถ้าจะนำมาเรียบเรียงใหม่ การตั้งข้อสังเกตจากเหตุการณ์ที่นำมาเรียบเรียงใหม่นี้ ทำให้ผมนึกถึงบางตอนของบทเรียนที่เตรียมไว้คราวหน้า ทำให้ต้องนำกลับมาทบทวนใหม่7

บุคคลสำคัญสามกลุ่มในบทที่ 2

โหราจารย์

โหราจารย์” หรือ “เหล่านักปราชย์จากตะวันออก” นั้นน่าทึ่งมากครับ มัทธิวไม่ได้บอกว่าพวกเขามาที่กรุงเยรูซาเล็มกันกี่คน แถมไม่ได้ให้คำอธิบายใดๆไว้ด้วย เฟรเดอริค บรูเนอร์ ได้ให้ข้อมูลพื้นฐาน บางประการที่น่าสนใจ ที่ไม่ได้บันทึกในพระกิตติคุณมัทธิว :

“พวกโหราจารย์ (magoi หรือพหูพจน์ในภาษากรีกใช้ว่า magos) ที่มัทธิวพูดถึง คือที่แน่ๆต้องเป็นผู้มีสติปัญญา (อาจ) เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดาราศาสตร์จากเปอร์เซีย หรือดินแดนสองแม่น้ำ การศึกษาเรื่องดาราศาสตร์ในสมัยโบราณ ยึดความเชื่อที่ว่าโลกนี้และพิภพอื่นในจักรวาล ต่างมีพลังดึงดูดซึ่งกันและกัน ดาราศาสตร์ เป็นเรื่องราวของกฎ หรือการโคจรของดวงดาว ; โหราศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องสื่อ หรือ ความหมายในการโคจรของดวงดาวที่สร้างผลกระทบต่อชีวิตบนโลก… . ศาสตร์ทั้งสอง ปัจจุบันแยกออกจากกัน แต่ในสมัยโบราณรวมอยู่ในคนๆเดียวกัน เพราะความสามารถในการแปลหรือถอดรหัสการโคจรของดวงดาวได้ พวกโหราจารย์จึงนับว่าเป็น “ผู้มีปัญญา”8

ถึงแม้ว่าคนส่วนมากคิดว่าโหราจารย์เหล่านี้เป็นผู้มี “สติปัญญา” แต่คนยิวคิดอีกแบบ แรกเลยคนเหล่านี้เป็นพวกต่างชาติต่างศาสนา แค่นี้ก็เป็นที่ดูถูกแล้ว ยังไม่พอ ในพระคัมภีร์พูดถึงพวก “โหราจารย์” ในแง่ไม่ดีนัก อย่างเช่นในหนังสือดาเนียล :

แล้วพระราชาจึงทรงบัญชาให้มีหมายเรียกพวกโหร พวกหมอดู พวกนักวิทยาคม และคนเคลเดีย เข้าทูลพระราชาให้รู้เรื่องพระสุบิน เขาทั้งหลายก็เข้ามาเฝ้าพระราชา (ดาเนียล 2:2)

“ผู้มีสติปัญญา” ของบาบิโลน พวกยิวไม่ค่อยชอบหน้า คนพวกนี้ไม่สามารถทำนายฝันให้เนบูคัดเนส ซาร์ได้ มาดูวิธีที่ผู้เผยพระวจนะในยุคพระคัมภีร์เดิมพูดถึงคนนอกศาสนาพวกนี้ ที่พยายามขอการทรงนำจากพระเจ้าด้วยวิธีการของคนต่างชาติ :

เพราะว่ากษัตริย์บาบิโลนยืนอยู่ที่ทางแพร่ง อยู่ที่หัวถนนสองถนน กำหนดหาคำทำนาย ท่านเขย่าลูกธนู และปรึกษาทราฟีม ท่านมองดูที่ตับ (เอเสเคียล 21:21)

เจ้าเหน็ดเหนื่อยกับที่ปรึกษาเป็นอันมาก ของเจ้า ให้เขาลุกขึ้นออกมา และช่วยเจ้าให้รอด คือบรรดาผู้ที่แบ่งฟ้าสวรรค์ และเพ่งดูดวงดาว ผู้ซึ่งทำนายให้เจ้าในวันขึ้นค่ำ ว่าจะเกิดอะไรขึ้นแก่เจ้า (อิสยาห์ 47:13)

ในยุคพระคัมภีร์ใหม่ก็ยังไม่มีอะไรเปลี่ยน ในหนังสือกิจการ 8:9-13 เราเห็นซีโมน คนทำวิทยาคม เหมือนกับเห็นบาลาอัม ผู้พยายามใช้เงินซื้อฤทธิเดชของพระเจ้า ในกิจการ 13:6-11 คนทำวิทยาคม ชื่ออาลีมาส (หรืออีกชื่อว่าบารเยซู) พยายามโน้มน้าวความเชื่อของผู้ว่าราชการเมือง เสอร์จีอัส เปาโล ดังนั้นหมอดูพวกนี้จึงเป็นที่ดูถูกและไม่เป็นที่ยอมรับนับถือ พวกเขาถูกเรียกว่าเป็นรูปเคารพของคนต่างชาติ9

เราคงสงสัยว่ามัทธิวเป็นอะไรไป ถึงนำเรื่อง “โหราจารย์ พวก นี้ที่ถูกเชิญมาร่วมฉลองการประสูติขององค์พระเมสซิยาห์มาเสนอ? อย่าลืมว่ามัทธิวเองเคยเป็นคนเก็บภาษี เป็นอาชีพที่ต่ำต้อยที่สุดในสายตาของชาวยิว

ครั้นพระเยซูเสด็จเลยตำบลนั้นไป ก็เห็นคนหนึ่งชื่อมัทธิวนั่งอยู่ที่ด่านภาษี จึงตรัสกับเขาว่า “จงตามเรามาเถิด” เขาก็ลุกขึ้นตามพระองค์ไป เมื่อพระองค์ประทับเสวยพระกระยาหาร อยู่ในเรือน มีคนเก็บภาษีและคนบาปอื่นๆหลายคน เข้ามาร่วมสำรับกับพระเยซู และกับพวก สาวกของพระองค์ เมื่อพวกฟาริสีเห็นแล้ว ก็กล่าวแก่สาวกของพระองค์ว่า “ทำไม อาจารย์ของท่านจึงรับประทานอาหารด้วยกันกับคนเก็บภาษีและคนนอกรีตเล่า” เมื่อพระ เยซูทรงทราบดังนั้นแล้วก็ตรัสว่า “คนเจ็บต้องการหมอ แต่คนสบายไม่ต้องการ ท่านทั้ง หลายจงไปเรียนคัมภีร์ข้อนี้ให้เข้าใจ ที่ว่าเราประสงค์ความเมตตา ไม่ประสงค์เครื่องสัตว บูชา ด้วยว่าเรามิได้มาเพื่อจะเรียกคนที่เห็นว่าตัวชอบธรรม แต่มาเรียกคนที่พวกท่านว่านอกรีต” (มัทธิว 9:9-13).

ผมเชื่อว่ามัทธิวรู้สึกยินดีมาก ที่แม้แต่คนต่างชาติพวกนี้ยังได้รับเชิญจากองค์พระผู้เป็นเจ้า ให้มาร่วมนมัสการพระกุมารเยซู แม้มัทธิวเองเป็นคนยิว เขียนพระกิตติคุณเล่มนี้เพื่อชาวยิว ท่านก็ไม่เคยคิดบิดเบือนข้อเท็จจริง ในเรื่องของพระเยซู จำได้หรือไม่ว่าพระกิตติคุณมัทธิวจบลงอย่างไร? :

พระเยซูจึงเสด็จเข้ามาใกล้แล้วตรัสกับเขาว่า “ฤทธานุภาพทั้งสิ้นในสวรรค์ก็ดี ในแผ่น ดินโลกก็ดีทรงมอบไว้แก่เราแล้ว เหตุฉะนั้นเจ้าทั้งหลายจงออกไปสั่งสอนชนทุกชาติ ให้ เป็นสาวกของเรา ให้ รับบัพติศมาในพระนามแห่งพระบิดา พระบุตรและพระวิญญาณ บริสุทธิ์ สอนเขาให้ถือรักษาสิ่งสารพัดซึ่งเราได้สั่งพวกเจ้าไว้ นี่แหละเราจะอยู่กับเจ้าทั้งหลายเสมอไป จนกว่าจะสิ้นยุค” (มัทธิว 28:18-20)

อาจมีคนเถียง “ใช่ฉันเห็นแล้ว พระเจ้าทรงมีแผนการความรอดโดยทางพระเยซูคริสต์ เพื่อทั้งคนยิวและคนต่างชาติ และเข้าใจด้วยว่าทำไมพระองค์ทรงอนุญาตให้คนต่างชาติ มีโอกาสมาร่วมฉลองการบังเกิดของพระเยซู แต่ทำไมพระเจ้าถึงเลือกใช้สื่อ ที่เปิดเผยถึงการเสด็จมาของพระบุตร ด้วยดวงดาว?”

อย่าลืมว่าพระเจ้าทรงเลือกที่จะสำแดงพระองค์เองแก่มนุษย์ โดยผ่านทางธรรมชาติ :

ฟ้าสวรรค์ประกาศพระสิริของพระเจ้า และภาคพื้นฟ้าสำแดงพระหัตถกิจของพระองค์ วันส่งถ้อยคำให้แก่วัน และคืนแจ้งความรู้ให้แก่คืน วาจาไม่มี ถ้อยคำก็ไม่มี และไม่มีใครได้ยินเสียงฟ้า ถึงกระนั้นเสียงฟ้าก็ออกไปทั่วแผ่นดินโลก และถ้อยคำก็แพร่ไปถึงสุดปลายพิภพ พระองค์ทรงตั้งเต็นท์ไว้ให้ดวงอาทิตย์ ณ ที่นั้น (สดุดี 19:1-4; เทียบกับโรม 11:18)

เพราะว่าพระเจ้าทรงสำแดงพระพิโรธของ พระองค์จากสวรรค์ ต่อความหมิ่นประมาทพระองค์ และความชั่วร้ายทั้งมวลของมนุษย์ที่เอาความชั่วร้ายนั้นบีบคั้นความจริง เหตุว่าเท่าที่จะรู้จักพระเจ้าได้ก็แจ้งอยู่กับใจเขาทั้งหลาย เพราะว่าพระเจ้าได้ทรงโปรดสำแดงแก่เขาแล้ว ตั้งแต่เริ่มสร้างโลกมาแล้ว สภาพที่ไม่ปรากฏของพระเจ้านั้น คือฤทธานุภาพอันถาวรและเทวสภาพของพระองค์ก็ได้ปรากฏชัดในสรรพสิ่งที่พระองค์ ได้ทรงสร้าง ฉะนั้นเขาทั้งหลายจึงไม่มีข้อแก้ตัวเลย (โรม 1:18-20)

เราคงจำได้ถึงการเสด็จเข้ากรุงเยรูซาเล็มของพระเยซูคริสต์ เมื่อฝูงชนโห่ร้องสรรเสริญพระองค์

ฝ่ายฟาริสีบางคนในหมู่ประชาชนนั้น ทูลพระองค์ว่า “อาจารย์เจ้าข้า จงห้ามเหล่าสาวกของท่าน” พระองค์ตรัสตอบเขาว่า “เราบอกท่านทั้งหลายว่า ถึงคนเหล่านี้จะนิ่งเสีย ศิลาทั้งหลายก็ยังจะส่งเสียงร้อง” (ลูกา 19:39-40)

ผมเข้าใจว่าดาวประหลาดดวงนั้น กำลังทำในสิ่งเดียวกัน อิสราเอลควรเป็น “ความสว่างแก่บรรดาประ ชาชาติ” (อิสยาห์ 42:6) แต่พวกเขาไม่ได้ทำหน้าที่ ไม่คิดจะนำข่าวประเสริฐเรื่องการกำเนิดมาของพระเมสซิยาห์ไปบอกแก่คนต่างชาติ ; ดังนั้นคนต่างชาติจึงทำหน้าที่นำข่าวประเสริฐนี้มาบอกแก่พวกเขาแทน เมื่อคนของพระเจ้า “นิ่งเฉย” “ดาว” (หรือดาวประหลาดดวงนั้น) จึงประกาศออกไป นำพวกโหราจารย์มาพบพระผู้ช่วยให้รอดแทน

ผมเห็นโหราจารย์พวกนี้เป็นเหมือนคนอย่างบาลาอัม เป็นต่างชาติทั้งคู่ แต่เป็นผู้ที่ได้รับการทรงสำแดง จากพระเจ้า เมื่อบาลาอัมปฏิเสธพระคำของพระองค์ เขาได้รับความพินาศ พวกโหราจารย์เชื่อการทรงนำของพระองค์ที่ให้มาที่เยรูซาเล็ม จนได้พบพระกุมารเยซูที่เบธเลเฮม

แล้วสำหรับพวกเรา “ดาวประหลาด” นี้มีความหมายอย่างไร? หลายคนพยายามหาคำอธิบายในเชิงมนุษย์10 บางคนบอกว่าเป็นดวงเดียวกับดาวหาง “ฮาเล่ย์” ; บางคนบอกเป็นบริวารของดาวจูปิเตอร์ หรือของดาวเสาร์ ผมต้องยอมรับว่าฟังดูไม่เข้าท่า แรกเลย ถ้านี่เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่สามารถคำนวณได้ล่วงหน้า ทำไมพวกโหราจารย์ถึงเดินทางตามมา? มันคงไม่ใช่ปรากฏการณ์ปกติ แล้วเหตุใดดาวดวงนี้จึงพามาจนถึงบ้านที่พระเยซูและครอบครัวอาศัยอยู่?

ประการที่สอง ทำไมถึงต้องพยายามหาคำอธิบายในเชิงมนุษย์ในเรื่องของปาฏิหาริย์ นอกเสียจากอยากหลีกเลี่ยงไม่ยอมเชื่อเรื่องปาฏิหาริย์ อย่างเช่นนักวิชาการบางคน (ที่เก่งเอามากๆก็มี) เมื่อวิเคราะห์พระธรรมโยนาห์ คิดว่าน่าจะมีสาระ ถ้านำตัวอย่างอื่นที่มนุษย์ถูก “ปลามหึมา” กลืนเข้าไป และมีคนช่วยออกมาได้ ทำไมจึงทำเช่นนั้น? พระเจ้าอาจทรงใช้วิธีการทางธรรมชาติเพื่อทำให้พระประสงค์ของพระองค์ สำเร็จลง แต่ไม่ใช่เสมอไป บางครั้งพระองค์ใช้การอัศจรรย์ที่เหนือขอบเขตของธรรมชาติ เพื่อเราจะ ยอมรับได้ว่าเป็นพระหัตถ์ของพระองค์ที่ทรงกระทำ ดังนั้นผมจึงมองเรื่อง “ดาวประหลาด” นี้ว่าเป็นการทรงสำแดงของพระเจ้า สำแดงพระสิริของพระองค์ ซึ่งเราพบได้หลายครั้งในพระคัมภีร์เดิม11

เครื่องบรรณาการจากโหราจารย์ – ทองคำ กำยาน มดยอบ – แน่นอนเป็นของมีราคาแพงมาก ผม และคนอื่นๆอีกหลายคน มีความเห็นว่าพระเจ้าทรงจัดเตรียมสิ่งของเหล่านี้มาให้ เพื่อครอบครัวจะมีเงินพอสำหรับการเดินทางไปประเทศอียิปต์ บางคนหาความหมายของสิ่งเหล่านี้ทางฝ่ายวิญญาณ :

  • ทองคำ – ของบรรณาการสำหรับกษัตริย์
  • กำยาน – เป็นของที่ปุโรหิตใช้ในการนมัสการพระเจ้า
  • มดยอบ – ใช้ในการเก็บรักษาสภาพศพ

สิ่งนี้อาจอยู่ในความคิดคำนึงของมัทธิว ซึ่งผมไม่ได้คิดไปไกลขนาดนั้น มัทธิวบอกเราว่า พวกโหราจารย์ “กลับไปยังเมืองของตนทางอื่น” (2:12) บรูเนอร์แปลความตอนนี้ว่าเป็นเรื่องของจิตวิญญาณ ทุกคนที่มาหาพระเยซู มารับความรอด จะไม่มีวันกลับไปเดินทางเดิมอีก ผมไม่แน่ใจว่ามัทธิวต้องการสื่อเช่นนั้น หรือเพียงต้องการให้เรารู้ว่าพระเจ้านำให้โหราจารย์กลับไปทางอื่น เพื่อกันเฮโรดและให้มีเวลาพาพระเยซูหนีไปที่อียิปต์ได้ทัน ที่จริง สิ่งที่พวกโหราจารย์ทำดูออกจะเสี่ยง เพราะถ้าเฮโรดจับได้ ผมค่อนข้างแน่ใจว่าเขาคงไม่ปล่อยโหราจารย์พวกนี้ไว้แน่

พวกโหราจารย์ทำให้ผมนึกถึงอับราฮัม อาจเป็นได้ที่พวกโหราจารย์กับอับราฮัมมาจากถิ่นกำเนิดเดียวกัน ทั้งคู่เป็น “คนต่างชาติ” ในขณะที่พระเจ้าทรงเรียกให้มายังดินแดนพันธสัญญา ทั้งคู่ไม่รู้เลยว่าตนเองกำลังจะไปที่ใดเมื่อจากบ้านเกิดมา ทั้งคู่เชื่อฟังพระเจ้า และได้พบกับพระผู้ช่วยให้รอด (ดูยอห์น 8:56) ทั้งคู่ด้วยความบังเอิญ มีดาวเป็นสื่อนำ :

อยู่มาพระดำรัสของพระเจ้ามาถึงอับรามด้วย นิมิตว่า “อับรามเอ๋ย เจ้าอย่ากลัวเลย เราเป็นโล่ของเจ้า บำเหน็จของเจ้าจะยิ่งใหญ่” อับรามทูลว่า “ข้าแต่พระเจ้า พระ องค์จะทรงโปรดประทานอะไรแก่ข้าพระองค์ ด้วยว่าข้าพระองค์ยังไม่มีบุตรเลย และ เอลีเยเซอร์ชาวเมืองดามัสกัสคนนี้ จะเป็นผู้รับมรดกของข้าพระองค์” อับรามทูลอีกว่า “พระองค์มิได้ทรงประทานบุตรให้แก่ข้าพระองค์ แล้วคนที่เกิดในบ้านของข้าพระองค์ ก็จะเป็นผู้รับมรดกของข้าพระองค์” ครั้นแล้วพระดำรัสของพระเจ้ามาถึงอับรามว่า “คนนี้จะไม่ได้เป็นผู้รับมรดกของเจ้า แต่บุตรชายของเจ้าเองจะเป็นผู้รับมรดกของเจ้า” พระองค์จึงพาอับรามออกมากลางแจ้งแล้วตรัสว่า “มองดูฟ้า ถ้าเจ้านับดาวทั้งหลาย ได้ ก็นับไปเถิด” แล้วพระองค์ตรัสว่า “พงศ์พันธุ์ของเจ้าจะมากมายเช่นนั้น” อับรามก็เชื่อพระเจ้า ความเชื่อนั้นพระองค์ทรงนับว่าเป็นความชอบธรรมแก่ท่าน (ปฐมกาล 15:1-6)

เฮโรดและทั้งเยรูซาเล็ม

ในตอนต้น ผมเรียงให้เห็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในเยรูซาเล็มตามลำดับ บอกว่ามัทธิวไม่ได้เล่าว่าพวกโหราจารย์ไปพบเฮโรดก่อน เพราะว่าถ้าพวกเขารู้จักเฮโรดดี คงไม่กล้าเสี่ยงเข้าไกล้ เฮโรดคงได้ยินเรื่องโหราจารย์โดยบังเอิญ เพราะพวกเขาไปสอบถามชาวบ้านในเมืองเยรูซาเล็มว่า “กษัตริย์ของชาวยิว” นั้นอยู่ที่ไหน เพื่อจะได้ไปนมัสการ

ผมรู้สึกขอบคุณบรูเนอร์ ที่ชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงที่น่าสนใจ เมื่อมัทธิวพูดถึง “เฮโรด” บรูเนอร์กล่าวว่ามัทธิว “ถอดยศ” เฮโรดลงได้อย่างแนบเนียนมาก

บุคคลที่เด่นรองลงมาในตัวละครของมัทธิว คือคนที่มัทธิวเรียกตลอดเวลาว่า “กษัตริย์ เฮโรด จนกระทั่ง เมื่อ พวกโหราจารย์ได้นมัสการพระกุมารเยซูแล้ว หลังจากนั้นเป็นต้นไป เฮโรดก็ถูกถอดยศลงมา ไม่มีการเรียกว่ากษัตริย์อีกต่อไป การนมัสการพระกุมารของพวกโหราจารย์ คือการราชาภิเษกของพระเยซู ดังนั้น ในเพลงคริสตมาสบางเพลง จึงมีเนื้อร้องว่า “วันนี้มีกษัตริย์เกิดใหม่” ’12

เมื่อเรื่องที่พวกโหราจารย์ถามหากษัตริย์เกิดใหม่ได้ยินไปถึงหูของเฮโรด ในทันทีท่านเรียกบรรดาผู้ เชี่ยวชาญธรรมบัญญัติมาพบ เพราะพวกนี้ต้องรู้เรื่องคำพยากรณ์เกี่ยวกับสถานที่เกิดของพระเมสซิยาห์ พวกเขาก็รู้จริงๆ โดยอ้างไปที่หนังสือมีคาห์ 5:2 และบอกกับเฮโรดอย่างมั่นใจว่าที่ใดคือสถานที่เกิดของบุตรดาวิด ตามที่ทรงสัญญาไว้

เป็นเรื่องเข้าใจได้ว่าทำไมเฮโรดถึงวุ่นวายใจมากกับข่าวการมาประสูติของ “กษัตริย์ชาวยิว” เฮโรดไม่ต้องการให้บัลลังก์ตนเองสั่นคลอน แม้จะชราแล้วก็ตาม.13 เพราะเฮโรดไม่ได้สืบทอดบัลลังก์มาอย่างถูกต้อง ไม่ใด้เป็นแม้กระทั่งสายเลือด “ยิวแท้” ส่วนผู้คนในกรุงเยรูซาเล็มที่หวั่นวิตก ก็เป็นเรื่องเข้าใจได้ง่าย เพราะถ้าเฮโรดเริ่มหวาดระแวง บรรดาคนใกล้ตัวคงไม่ปลอดภัยแน่ รวมไปถึงครอบครัวด้วย:

ท่านได้สังหารวงศ์วานที่เหลือของราช บัลลังก์ฮัสโมเนียน สั่งฆ่าพวกสภาแซน เฮดรินไปว่าครึ่ง ฆ่าเจ้าหน้าที่ประจำศาลไปกว่าสามร้อย ฆ่าภรรยาตนเอง นางมาเรียม รวมถึงอเล็กซานดร้ามารดาของนางด้วย ฆ่าบุตรของตนเอง แอนติ พาเธอร์ อริสโตบูลูส และอเล็กซานเดอร์ จนเมื่อวาระสุดท้ายมาถึง ก่อนตาย ท่านได้เรียกผู้คนในระดับสูงของเยรูซาเล็ม มารวมกันที่สนามกีฬาใหญ่ และ สั่งให้ฆ่าคนเหล่านี้ในทันทีที่มีการประกาศถึงการตายของท่าน คนที่มีจิตใจ โหดเหี้ยมผิดมนุษย์ และกลัวการแก่งแย่งขนาดนี้ การสั่งฆ่าเด็กทารกผู้ชาย ทั่วเมืองเบธเลเฮมจึงเป็นไปได้14

แต่เหตุใดบรรดาผู้นำศาสนาแห่ง เยรูซาเล็ม – มหาปุโรหิตและพวกธรรมาจารย์ – จึงตื่นตระหนก? อาจเป็นเพราะในพระคัมภีร์เดิม มีคำพยากรณ์อื่นๆอีก ซึ่งพวกเขาคุ้นเคยดี – เป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ – ซึ่งฟังแล้ว น่าหวั่นใจ :

พระเจ้าตรัสว่า “วิบัติจงมีแก่ผู้เลี้ยงแกะ ผู้ทำลายและกระจายแกะของลานหญ้าของเรา” เพราะฉะนั้น พระเยโฮวาห์พระเจ้าแห่งอิสราเอล ตรัสกับผู้เลี้ยงแกะผู้ดูแลประชากรของเรา ดังนี้ว่า “เจ้าทั้งหลายได้กระจายฝูงแกะของเราและได้ ขับไล่มันไปเสีย และเจ้ามิได้เอาใจ ใส่มัน พระเจ้าตรัสว่า ดูเถิด เราจะเอาใจใส่เจ้า เพราะการกระทำที่ชั่วของเจ้า แล้วเราจะ รวบรวมฝูงแกะของเราที่เหลืออยู่ออกจากประเทศทั้งปวง ซึ่งเราได้ขับไล่ให้เขาไปอยู่นั้น และจะนำเขากลับมายังคอกของเขา เขาจะมีลูกดกและทวีมากขึ้น พระเจ้าตรัสว่า เราจะตั้ง ผู้เลี้ยงแกะไว้เหนือเขา ผู้จะเลี้ยงดูเขาและเขาทั้งหลายจะไม่กลัวอีกเลย หรือครั่นคร้าม จะไม่ขาดไปเลย “พระเจ้าตรัสว่า ดูเถิด วันเวลาจะมาถึง เมื่อเราจะเพาะอังกูรชอบธรรม ให้ดาวิด และท่านจะทรงครอบครองเป็นกษัตริย์และ กระทำกิจอย่างเฉลียวฉลาด และจะ ทรงประทานความยุติธรรมและ ความชอบธรรมในแผ่นดินนั้น ในสมัยของท่านยูดาห์จะรอดได้ และอิสราเอลจะอาศัยอยู่อย่างมั่นคง และนี่จะเป็นนามซึ่งเราจะเรียกท่าน คือ ‘พระเจ้าเป็น ความชอบธรรม ของเรา’ เพราะฉะนั้น พระเจ้าตรัสว่า ดูเถิด วันเวลาจะมาถึง เมื่อคนของ เขาไม่กล่าวอีกต่อไปว่า ‘พระเจ้าทรงพระชนม์อยู่ตราบใด ผู้ซึ่งได้นำประชาชนอิสราเอลออกมา จากแผ่นดินอียิปต์’ แต่จะว่า ‘พระเจ้าทรงพระชนม์อยู่ตราบใด ผู้ซึ่งได้นำและพาเชื้อสาย แห่งประชาอิสราเอลออก มาจากแดนเหนือ และออกมาจากประเทศที่พระองค์ทรงขับไล่ ให้ไปอยู่นั้น’ แล้วเขาทั้งหลายจะได้อาศัยอยู่ในแผ่นดินของเขาเอง” (เยเรมีย์ 23:1-8)

การเสด็จมาของกษัตริย์อิสราเอล “กษัตริย์ของชาวยิว” หมายถึงระบอบการปกครองใหม่ทั้งหมด การบริหารประเทศในรูปแบบใหม่ หลังจากได้ยินว่าพวกโหราจารย์กำลังตามหา “กษัตริย์องค์ใหม่ของชาวยิว” บรรยากาศในกรุงเยรูซาเล็มคงจะพอๆกับในวอชิงตันดีซี เมื่อพรรคใดพรรคหนึ่งมีชัยชนะอย่างถล่มทลายต่อคู่ต่อสู้ในการเลือกตั้ง ส่วนเรื่องทารกถูกสังหาร เราจะมาเรียนเจาะลึกในบทเรียนหน้า มาถึงตอนนี้ คงพอจะบอกได้ว่าเฮโรดนั้นเป็นฆาตรกรที่โหดเหี้ยมเพียงใด ทุกการฆาตกรรมวางแผนไว้ล่วงหน้า ต้องตายไม่มีพลาด เมื่อเฮโรดรู้เรื่องดาวประหลาด คงเตรียมการไว้ในใจ สั่งพวกโหราจารย์ ให้เดินทางกลับมาบอกถึงสถานที่ๆจะพบพระกุมาร เพื่อจะได้ไปนมัสการบ้าง บางทีเฮโรดอาจกลัวว่าแผนจะผิดพลาด ผมเกือบได้ยินเฮโรดพูดกับตัวเองว่า “ดาวดวงนี้มันปรากฏมาเกือบปีแล้ว แสดงว่า “กษัตริย์” องค์นี้น่าจะประมาณหนึ่งขวบ เพื่อกันพลาดคงต้องฆ่าเด็กทารกตั้งแต่สองขวบลงมา” เรา พบว่ามัทธิวไม่ได้พูดถึงการตายอันน่าสยดสยองของเฮโรดหลังจากนั้นไม่นาน ท่านรู้ดีว่า เมื่อเวลามาถึง คนชั่วร้ายจะต้องฟื้นขึ้น เพื่อมารับการลงโทษชั่วนิรันดร์ ซึ่งสาสมกันดีกับสิ่งที่ทำไว้

พระกุมารเยซู

เราคงต้องปล่อยเรื่องของเฮโรดให้เป็นอดีต และจบบทเรียนตอนนี้โดยมุ่งไปที่พระเยซู ผู้ทรงเข้ามาครอบครองความนึกคิดของเรา ในระหว่างศึกษาบทเรียนของพระกิตติคุณเล่มนี้ สิ่งแรกที่มัทธิวบอกเราถึงพระกุมาร คือพระองค์ทรงเป็นมนุษย์ ตามที่บันทีกอยู่ในลำดับพงศ์ 1:1-17 และพระองค์ทรงเป็น พระเจ้า พระองค์ทรงเป็นตามความหมายของพระนาม คือพระเจ้าท่ามกลางเรา ทารกน้อยนี้เป็นทั้งมนุษย์และพระเจ้าได้อย่างไร? โดยถือกำเนิดมาอย่างบริสุทธิ์ เด็กที่อยู่ในครรภ์นางมารีย์ ไม่ได้เกิดขึ้นจากชายใด แต่โดยเดชพระวิญญาณบริสุทธิ์ (1:18-25) เพราะการถือกำเนิดอย่างพิเศษเช่นนี้ ทารกนี้จึง “เป็นผู้ที่จะโปรดช่วยชนชาติของท่านให้รอดจากความผิดบาปของเขา” (1:21) มัทธิวกล่าวว่า พระเยซูเป็นผู้ทำให้คำพยากรณ์ของผู้เผยพระวจนะ ในพระคัมภีร์เดิมเป็นจริงถึงสี่ครั้งในบทที่ 2 เราจะย้อนมาพูดเรื่องนี้อีกทีในบทเรียนหน้า ให้เรามาพิจารณาดูพระลักษณะขององค์พระผู้เป็นเจ้าในบทนี้ด้วยกัน

ประการแรก พระเยซูประสูติที่เบธเลเฮม ดูเหมือนไม่ใช่เรื่องสำคํญ แต่ไม่ควรมองข้าม ไม่ใช่ในมัทธิวเท่านั้น แต่ในพระกิตติคุณเล่มอื่นๆด้วย มัทธิวบอกเราว่าพระเยซูประสูติที่เบธเลเฮม (2:1) ตรงตามที่มีคาห์พยากรณ์ไว้ (2:6) ซึ่งเราเห็นได้ชัดเจน แต่หลังจากนั้น สถานการณ์ที่เกิดขึ้น ทำให้พระ องค์ต้องเติบโตขึ้นในนาซาเร็ธ ในแคว้นกาลิลีแทน ดังนั้นพระองค์จึงถูกเรียกว่า “พระเยซูชาวนาซาเร็ธ” (มัทธิว 2:23 ฯลฯ) แต่ในสมัยของพระองค์ผู้คนเข้าใจผิด คิดว่าพระองค์เป็นชาวนาซาเร็ธโดยกำเนิด:

ฟีลิปไปหานาธานาเอลบอกเขาว่า “เราได้พบพระองค์ผู้ที่โมเสสได้กล่าวถึง ในหนังสือธรรมบัญญัติ และที่พวกผู้เผยพระวจนะได้กล่าวถึง คือ พระเยซู ชาวนาซาเร็ธบุตรโยเซฟ” นาธานาเอลถามเขาว่า “สิ่งดีอันใดจะมาจากนาซาเร็ธได้หรือ” ฟีลิปตอบว่า “มาดูเถิด” (ยอห์น 1:45-46)

เมื่อประชาชนได้ฟังดังนั้น บางคนก็พูดว่า “ท่านผู้นี้เป็นผู้เผยพระวจนะนั้นแน่” คนอื่นๆก็พูดว่า “ท่านผู้นี้เป็นพระคริสต์” แต่บางคนพูดว่า “พระคริสต์จะมาจากกาลิลีหรือ พระคัมภีร์กล่าวไว้มิใช่หรือ ว่าพระคริสต์จะมาจากเชื้อพระวงศ์ของดาวิด และมาจากหมู่บ้านเบธเลเฮม ชนบทซึ่งดาวิดเคยอยู่นั้น” (ยอห์น 7:40-42)

นิโคเดมัสผู้ที่ได้มาหาพระองค์คราวก่อน นั้น และเป็นคนหนึ่งในพวกเขา ได้กล่าว แก่พวกเขาว่า “กฎหมายของเราตัดสินคนใดโดยที่ยังไม่ได้ฟังเขาก่อน และรู้ว่า เขาได้ทำอะไรบ้างหรือ” เขาทั้งหลายตอบนิโคเดมัสว่า “ท่านมาจากกาลิลีด้วยหรือ จงค้นหาดูเถิด แล้วท่านจะเห็นว่าไม่มีผู้เผยพระวจนะเกิดขึ้นมาจากกาลิลี” (ยอห์น 7:50-52)

ทั้งมัทธิวและลูกา พูดอย่างชัดเจนว่าพระเยซูเป็น “ชาวนาซาเร็ธ” แท้ และเป็น “คนกาลิลี” และประสูติที่เบธเลเฮม พระองค์จึงทำให้คำพยากรณ์ในเรื่องสถานที่สำเร็จเป็นจริง

ประการที่สอง พระเยซูทรงเปิดเผยถึง “ความอ่อนแอ” บางอย่างให้เราเห็น แต่เป็น “ความอ่อนแอ” ที่ แข็งแกร่งกว่ามนุษย์ในหนังสือที่อาโปรกริปปาบันทึกไว้ มีแต่เรื่องราว “มหัศจรรย์” เหลือเชื่อหลายอย่างที่เกิดขึ้นกับพระกุมารเยซู :

พระกุมารไม่ได้เป็นไปอย่างหนังสือที่ อาโปรกริปปาบันทึกไว้ หรือแม้แต่ในคัมภีร์ โกราน ที่พูดถึงพระสติปัญญาอันล้ำเลิศ หรือทรงทำอัศจรรย์ได้ตั้งแต่แบเบาะ พระองค์เป็นเพียงทารก ไม่มีรัศมีลอยอยู่เหนือศีรษะ ไม่มีแสงเปล่งออกมาจากพระ กาย และผู้คนยอมน้อมรับทารกน้อยนี้ (… ไม่ใช่นางมารีย์)15

ในมัทธิวบทที่ 2 ย้ำเตือนเราอีกครั้งถึงความเป็นมนุษย์ของพระเยซู ทรงบอบบางเหมือนทารกทั่วไป พระกุมารน้อยต้องการการดูแลเลี้ยงดูจากบิดามารดา ปกป้องให้พ้นภัยจากเงื้อมมือของเฮโรดผู้จ้องจะฆ่า ต้องมีคนพาหนีไปอียิปต์ และพากลับอิสราเอลเมื่อปลอดภัย โยเซฟเป็นผู้ที่พระเจ้าตรัสสั่งในความฝัน ให้เป็นผู้ปกป้องทารกน้อยนี้ให้พ้นภัย และถึงแม้ในท่ามกลางเหตุการณ์ต่างๆที่ แสดงว่าพระองค์เป็นมนุษย์ ยังมีเหตุการณ์บางอย่าง ที่สำแดงให้รู้ว่าพระองค์ทรงเป็นมากกว่า พระองค์ทรงถือกำเนิดมาในฐานะ “กษัตริย์ของชาวยิว” (2:2) และเมื่อพระองค์ประสูติ มีดาวประหลาดปรากฏขึ้น เพื่อป่าวประกาศไป นำคนต่างชาติผู้มั่งคั่งจากแดนไกล เดินทางมาเพื่อนมัสการพระองค์ นำของบรรณาการมาถวาย – ทองคำ กำยาน และมดยอบ (2:11)16 ทารกนี้ เป็นเด็กพิเศษ และน่าอกสั่นขวัญแขวนสำหรับเฮโรดอย่างยิ่ง เด็กคนนี้ ในความเป็นมนุษย์และบอบบาง ทรงเป็นพระเจ้าผู้ทรงพระชนม์ ไม่มีสิ่งใดมายับยั้ง ไม่ให้พระองค์ทำพระประสงค์ของพระเจ้าสำเร็จ ใครจะไปนึกว่าพระเจ้าทรงส่งพระผู้ช่วยให้รอด ลงมาในโลกนี้ ในฐานะทารกน้อย อ่อนแอบอบบาง ช่วยตนเองไม่ได้

ประการที่สาม มนุษย์เป็นปฏิปักษ์และต่อต้านพระเยซู โดยเฉพาะชาวยิวพี่น้องร่วมชาติ คำพยากรณ์ใน มัทธิว 2:23 ทำให้หลายคนวุ่นวายใจ:

ไปอาศัยในเมืองหนึ่งชื่อนาซาเร็ธ เพื่อจะสำเร็จตามพระวจนะ ซึ่งตรัสโดยผู้เผยพระวจนะ เขาจะเรียกท่านว่า ชาวนาซาเร็ธ

ผู้เชี่ยวชาญพระคัมภีร์หลายคนตั้งข้อสังเกตว่า ไม่มีพระคำตอนไหนที่กล่าวว่า “พระเยซูจะถูกเรียกว่า เป็นชาวนาซาเร็ธ” เจมส์ มอนท์โกเมอรี่ บอยส์ ชี้ให้เห็นข้อสังเกตุสำคัญสองประการ :

ข้อแรก เราต้องดูว่ามัทธิวเขียนพระคำข้อนี้โดยอ้างถึงคำพยากรณ์ของผู้เผยพระวจนะ (เป็นพหูพจน์ – โดยบรรดาผู้เผยพระวจนะ) มากกว่าที่ท่านพูดถึงในตอนอื่นๆ ‘เพื่อจะสำเร็จตามพระวจนะ ซึ่งตรัสโดยผู้เผยพระวจนะ’ (มัทธิว 1:22) หรือ ‘เพราะว่าผู้เผยพระวจนะได้เขียนไว้’ (มัท ธิว 2:5) ซึ่งเป็นการกล่าวแบบกว้างๆ ไม่ได้เจาะจงไปที่ข้อพระคำข้อหนึ่งข้อใดในพระคัมภีร์เดิม17

นอกจากนี้ ท่านยังแทนคำกริยาที่ใช้ประจำเป็นต้นแบบ (ตรัส) ควบคู่ไปกับคำ hoti ซึ่ง คือคำว่า “โดย” เกิดขึ้นครั้งเดียวในพระกิตติคุณฉบับนี้ มัทธิวคงไม่ได้เจาะจงไปที่พระคัมภีร์เดิมตอนใด ตอนหนึ่ง แต่พูดตามคำสอนในพระวจนะทั่วๆไป ดังนั้นท่านจึงพูดว่า ‘เพื่อจะสำเร็จตามพระ วจนะ ซึ่งตรัสโดยผู้เผยพระวจนะ เขาจะเรียกท่านว่าชาวนาซาเร็ธ ’18

บอยส์ส์กล่าวว่า ไม่มีที่ใดในพระคัมภีร์เดิมที่บ่งว่า พระเยซูจะถูกเรียกว่าเป็นชาวนาซาเร็ธ แล้วเราจะตอบปัญหานี้อย่างไร? ผมคิดว่าบอยส์มีคำอธิบายที่ดีที่สุด :

คำอธิบายที่เหมาะสม อาจเป็นได้ว่านาซาเร็ธเป็นสถานที่ๆน่ารังเกียจ เป็นหมู่บ้านที่ไม่มีใครอยากไป “ข้องแวะ” ด้วย เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่คนยิวว่าควรอยู่ห่างเอาไว้ สิ่งที่มัทธิวพยายามจะสื่อ คือสิ่งที่ผู้เผยพระวจนะทำนายว่า พระเมสซิยาห์จะเป็นที่ชิงชังรังเกียจ เป็นบุคคลที่ตกเป็นเหยื่อของความเกลียดชัง 19

บรูเนอร์ให้ความเห็นในทำนองเดียวกัน :

ตามเหตุผลทางทฤษฎี ผมอยากจะกล่าวถึง … ความเป็นไปได้ หรือน่าเป็นไปได้ว่าสำหรับมัทธิว ใครก็ตามถ้าได้ชื่อว่ามาจากนาซาเร็ธ หรือเป็นชาวนาซาเร็ธแล้ว เป็นเหมือนคนที่ถูกมองข้าม และเหตุนี้ ผู้เผยพระวจนะจึงพยากรณ์บ่อยครั้งว่าพระคริสต์จะอยู่ท่ามกลาง และเพื่อเราทั้งหลาย 20 ดังนั้นเมื่อ“ท่านถูกเรียกว่าเป็นชาวนาซาเร็ธ” ความหมายก็น่าจะแปลว่า “เป็นผู้ที่ถูกมองข้าม”21

ผมคิดว่าคำอธิบายของทั้งบอยส์และ บรูเนอร์นั้นดีมาก และสอดคล้องอย่างดีกับคำพยากรณ์ของบรรดาผู้เผยพระวจนะที่เล็งถึงพระเมสซิยา ห์ ดังนั้นหลายต่อหลายครั้ง เราพบคำพยากรณ์ที่กล่าวว่าทรงเป็นพระผู้ช่วยให้รอดที่ถูกเกลียดชัง :

ท่านได้ถูกมนุษย์ดูหมิ่นและทอด ทิ้ง เป็นคนที่รับความเจ็บปวด และคุ้นเคยกับ ความเจ็บไข้และดังผู้หนึ่งซึ่งคนทนมองดูไม่ได้ ท่านถูกดูหมิ่น ท่านได้ถูกมนุษย์ ดูหมิ่นและทอดทิ้ง เป็นคนที่รับความเจ็บปวด และคุ้นเคยกับความเจ็บไข้ และดัง ผู้หนึ่งซึ่งคนทนมองดูไม่ได้ ท่านถูกดูหมิ่น (อิสยาห์ 53:3).22

ประการที่สี่ พระเยซูทรงเป็นอิสราเอลใหม่ ในบทที่ 1 มัทธิวเชื่อมโยงพระเยซูเข้ากับอับราฮัมและดาวิด (1:1-17) ในบทที่ 2 มัทธิวขยายวงกว้างออกไปอีก แรกเราเห็นว่าพระเยซูถูกโยงเข้ากับโมเสส โมเสส “ผู้ช่วยกู้” ที่พระเจ้าเลือกให้มาช่วยประชากรของพระองค์ ดังนั้นกษัตริย์ (ฟาโรห์) จึงแสวงชีวิตของท่าน ตั้งแต่ยังเป็นทารก23 พระเจ้าช่วยกู้โมเสสเช่นเดียวกับที่ทรงช่วยพระเยซู มัทธิวยังโยงพระเยซูเข้ากับ ประเทศอิสราเอล เราจึงประหลาดใจที่ “คำพยากรณ์” ในพระธรรมโฮเซยาห์ 11:1 สำเร็จเป็นจริงในองค์พระเยซู :

ครั้นเขาไปแล้วก็มีทูตองค์หนึ่งของ พระเป็นเจ้า ได้มาปรากฏแก่โยเซฟใน ความฝันแล้วบอกว่า “จงลุกขึ้นพากุมารกับมารดาหนีไปประเทศอียิปต์ และคอยอยู่ที่นั่นจนกว่าเราจะบอกเจ้า เพราะว่าเฮโรดจะแสวงหากุมาร เพื่อจะประหารชีวิตเสียในเวลากลางคืนโยเซฟจึงลุกขึ้น พากุมารกับ มารดาไปยังประเทศอียิปต์ และได้อยู่ที่นั่นจนเฮโรดสิ้นพระชนม์ ทั้งนี้เกิด ขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งได้ตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า เราได้เรียกบุตรของเราให้ออกมาจากอียิปต์ (มัทธิว 2:13-15)

คนยิวคนไหนในสมัยของพระเยซู จะไปคิดว่าพระธรรมโฮเซยา 11:1 เป็นคำพยากรณ์ คำพยากรณ์ที่ เกิดขึ้นเป็นจริงข้อนี้ ทำให้หลายคนงงเพราะนึกไม่ถึง ให้เรามาดูเหตุผลของมัทธิวกัน ชาวอิสราเอลละ ทิ้งแผ่นดินคานาอัน ไปชีวิตต่างแดนที่ในอียิปต์ถึง 400 ปี เมื่อถึงเวลา พระเจ้าส่งโมเสสมาช่วยประชากรของพระองค์กลับคืนสู่ดินแดนพันธสัญญา (ดูปฐมกาล 15:12-21) ตามบันทึกของมัทธิว พระเยซูย้อนรอยอดีตอิสราเอล ในวัยทารก พระองค์ถูกนำไปอียิปต์ (สถานที่ๆพระเจ้าเตรียมไว้เพื่อปก ป้องประชากรของพระองค์ เช่นเดียวกับที่พระองค์ทรงปกป้องพระเยซู) หลังพลัดพรากจากบ้านไปอยู่ที่อียิปต์ พระองค์ทรงเดินทางกลับสู่มาตุภูมิ ดินแดนแห่งพันธสัญญา เช่นเดียวบรรพบุรุษอิสราเอลเคยทำในอดีต

พระเจ้าสัญญากับอับราฮัมว่า จะทรงอำนวยพระพรประชาชาติผ่านทางเชื้อสายของท่าน (ปฐมกาล 12:1-3) แต่เป็นเพราะความบาป ไม่มีผู้ใดในอิสราเอลชอบธรรมพอที่จะเป็นพระพรไปสู่ประชาชาติ พระเยซูทรงเป็นอิสราเอลที่สมบูรณ์แบบ เป็นตัวแทนที่เหมาะสมยิ่งของประเทศ พระเยซูทรงเป็น “เชื้อสาย” ที่กล่าวถึงนี้ เป็นแหล่งที่พระพรจากพระสัญญาอับราฮัมจะเทออกไหลไปสู่ผู้อื่น :

ดูก่อนพี่น้องทั้งหลาย ข้าพเจ้าขอยกตัวอย่างสักเรื่องหนึ่ง ถึงแม้เป็นคำสัญญาของมนุษย์ เมื่อได้รับรองกันแล้ว ไม่มีผู้ใดจะล้มเลิกหรือเพิ่มเติมขึ้นอีกได้ บรรดาพระ สัญญา ที่ได้ประทานไว้แก่อับราฮัมและพงศ์พันธุ์ของท่านนั้น มิได้ตรัสว่า และแก่พงศ์พันธุ์ทั้งหลาย เหมือนอย่างกับว่าแก่คนมากคน แต่เหมือนกับว่าแก่คนผู้เดียวคือ แก่พงศ์พันธุ์ของท่าน ซึ่งเป็นพระคริสต์ (กาลาเทีย 3:15-16)

อิสราเอลเป็นชาติที่ดื้อดึงและชอบกบฏ แม้ผู้นำที่ยิ่งใหญ่อย่างโมเสส ดาวิด และซาโลมอน ก็ยังเป็นคนบาป มีเพียงพระเยซูเท่านั้น ผู้เป็น “บุตรของอับราฮัม” และเป็น “บุตรดาวิด” และเป็น “บุตรพระเจ้า” ด้วย พระองค์เท่านั้นเป็นผู้ทำให้อนาคตของอิสราเอลสำเร็จเป็นจริง เป็นแหล่งแห่งพระพรฝ่ายวิญญาณทุกอย่าง ดังนั้นมัทธิวจึงประกาศว่า พระเยซูทรงเป็นผู้ทำให้พระสัญญา เรื่องพระพรของพระเจ้า และความหวังของอิสราเอลสำเร็จเป็นจริงสมบูรณ์ :

ถ้าเจาะลึกลงไปอีก บรรดานักแปลความหมายพบว่า สิ่งที่พระเยซูทำในบทที่ 2 เหมือนกับสิ่งที่คนอิสราเอลในยุคโบราณเคยทำมาแล้ว พระองค์ทรงละจากแผ่นดินพันธสัญญาอิสราเอลไปยังประเทศเจ้าเก่าที่ใช้หลบภัย อียิปต์ เหมือนกับบุคคลสำคัญทั้งหลาย (จากอับราฮัมไปยังโยเซฟ) ได้ทำในครั้งโบราณ เหมือนกับโมเสสที่สองในอพยพ พระเยซูถูกเรียกให้ออกมาจากอียิปต์ กลับคืนสู่ดินแดนพันธสัญญาอีกครั้ง (‘เราได้เรียกบุตรของเราให้ออกมาจากอียิปต์’) ทั้งหมดนี้ มัทธิวบอกเราว่า “ดูสิ อิสราเอลใหม่!”24

มัทธิว 1 สอนเราเรื่องปฐมกาลใหม่ โดยย้อนประวัติศาสตร์การกำเนิดของบุตรอับราฮัมและบุตรดาวิดตามพระสัญญา มัทธิว 2 จึงสอนเราเรื่องการอพยพใหม่ การเข้าไปอาศัยและออกจากประเทศอียิปต์ของพระเยซู หรือโมเสสใหม่ พระเยซูทรงทำให้พระวจนะสำเร็จสมบูรณ์ ในฐานะของพระเมสซิยาห์ : มัทธิวบทที่ 1 แสดงให้เห็นโดยการสืบทอดลำดับพงศ์ของพระเยซู (อับราฮัม และดาวิด); มัทธิวบทที่ 2 แสดงให้เห็นถึงสถานที่ๆพระองค์เสด็จไป (เบธเลเฮม อียิปต์ อิสราเอล) … .25

… พระองค์เองคือภาพรวมของอิสราเอลทั้งหมด (เป็นตัวแทนของมนุษยชาติ) เป็นถ้วยที่ต้องดื่มจนหยดสุดท้าย เพื่อจะซึมซับเอาไว้ให้หมดสิ้น

“สิ่งที่อิสราเอลเคยเป็นมาทั้งหมด หลอมรวมอยู่ในพระบุคคลขององค์พระเยซู” (จากข้อเขียนของ Meier, Vis., 55, n. 19) พระเยซูคริสต์คืออิสราเอลใหม่ อิสราเอลทำในสิ่งที่พระคัมภีร์ทำนายไว้ทุกประการ ทุกสิ่งที่อิสยาห์เผยไว้สำเร็จเป็นจริงในองค์พระเยซูคริสต์ เกิดขึ้นเป็นจริงโดยคนอิสราเอลเพียงคนเดียว เป็นไปตามหลักการพระคัมภีร์ที่ออสการ์ คัลมานเรียกว่า “ปฏิรูปแบบถดถอย” เมื่อมนุษย์ล้มเหลว (ปฐก. 1-11) อิสราเอลถูกเลือกให้เป็นหนทางความรอดสำหรับมนุษย์ทั้งมวล (ปฐก. 12) เมื่ออิสราเอลล้มเหลว เยซูชาวนาซาเร็ธ คนอิสราเอลทำสำเร็จในนามและเพื่ออิสราเอลเอง (มัทธิว 1) และเมื่อ “การปฏิรูปเดินหน้า” พระเยซูทรงตั้งคริสตจักรของพระองค์เอง เพื่อประชากรใหม่ของพระเจ้า เป็นเกลือ เป็นแสงสว่าง และเป็นสาวกจากทุกชนชาติ (มัทธิว 5;13-16; 28:18-20) จนกว่าพระองค์เสด็จกลับมาเมื่อสิ้นยุค ในบุคคลของพระเยซูองค์เดียว ทรงขมวดของเดิมเสีย และเปิดฉากใหม่ด้วยคริสตจักรของพระองค์เป็นประวัติศาสตร์แห่งความรอดของ อิสราเอลเพื่อโลกมนุษย์ 26

บทสรุป

ผมขอสรุปบทเรียนนี้ด้วยข้อคิดบางประการ

ข้อแรก พระเยซูทรงแบ่งแยกมนุษย์ได้อย่างอัศจรรย์ เรา เห็นข้อแตกต่างนี้ได้อย่างขัดเจนในมัทธิวบทที่ 2 ด้านหนึ่งคือพวกโหราจารย์ ที่เดินทางมาจากแดนไกล (อย่างยากลำบาก) มาเพื่อค้นหา และนมัสการกษัตริย์ของชาวยิว อีกด้านหนึ่งคือเฮโรดในฐานะผู้นำศาสนาและเป็นคนเยรูซาเล็ม เฮโรดได้ทำสิ่งโหดเหี้ยมที่สุด ตามสังหารพระกุมารเยซู ส่วนคนที่เหลือไม่ให้ความสนใจกับพระองค์ เมื่อมนุษย์เผชิญหน้าพระเยซู พวกเขาต้องตัดสินใจว่าจะน้อมรับพระองค์เป็นพระผู้ช่วยตามที่พระเจ้าทรงสัญญา ไว้ หรือจะปฏิเสธพระองค์ เมื่อคุณศึกษาบทเรียนนี้ คุณเองคืออีกคนที่ต้องเลือก : จะรับพระเยซูในฐานะพระผู้ช่วยให้รอดของพระเจ้า หรือคุณจะปฏิเสธพระองค์ดี? ไม่มีทางสายกลางครับ ไม่เคยมี คุณอยากอยู่ฝ่ายไหน เฮโรด หรือโหราจารย์?

ข้อสอง บทเรียนตอนนี้เตือนเราว่า มีความรู้เรื่องพระเยซูตามพระคัมภีร์เท่านั้นไม่พอ เรา ต้องลงมือทำตามความรู้นั้นเพื่อจะรับความรอดได้ พวกโหราจารย์ต่างชาติไม่ได้มีความรู้เรื่องพระเยซูเท่ากับพวกผู้นำศาสนาใน เยรูซาเล็ม ถึงกระนั้นพวกเขาทำตามเท่าที่รู้ ออกตามหาพระกุมารเยซู และนมัสการพระองค์ พวกเขาพบทางแห่งความรอด ; แต่ชาวเยรูซาเล็มเองกลับไม่พบ

นี่คือคำสอนทิ้งท้ายที่พระเยซูให้ไว้ในคำเทศนาบนภูเขาใช่หรือไม่?

“เหตุฉะนั้นผู้ใดที่ได้ยินคำเหล่านี้ของ เรา และประพฤติตาม เขาก็เปรียบเสมือนผู้ที่มีสติปัญญาสร้างเรือนของตนไว้บนศิลา ฝนก็ตกและน้ำก็ไหลเชี่ยว ลมก็พัดปะทะเรือนนั้น แต่เรือนมิได้พังลง เพราะว่ารากตั้งอยู่บนศิลา แต่ผู้ที่ได้ยินคำเหล่านี้ของเราและไม่ประพฤติตามเขาก็เปรียบเสมือนผู้ที่ โง่เขลา สร้างเรือนของตนไว้บนทราย ฝนก็ตกและน้ำก็ไหลเชี่ยว ลมก็พัดปะทะเรือนนั้น เรือนนั้นก็พังทลายลง และการซึ่งพังทลายนั้นก็ใหญ่ยิ่ง” (มัทธิว 7:24-27)

เมื่อคุณได้ยินเรื่องราวของพระเยซูแล้ว คุณได้ลงมือทำหรือยัง? อย่าลืมว่าแค่รู้อย่างเดียวไม่พอ

ข้อสาม บทเรียนตอนต้นของพระกิตติคุณมัทธิว จะช่วยเตรียมเราสำหรับเรื่องราวต่างๆที่จะตามมาของพระกิตติคุณเล่มนี้ เราเรียนรู้ว่าพระเยซูทรงเป็นทั้ง “บุตรพระเจ้า” และ “บุตรมนุษย์” เป็นมนุษย์และเป็นพระเจ้า ทุกสิ่งที่พระเยซูทรงกระทำและตรัสในพระกิตติคุณเล่มนี้ นำไปสู่บทสรุปเพียงบทเดียว เมื่อพระองค์ถือกำเนิด มีบางคนปฏิเสธพระองค์ แต่ก็มีบางคนเชื่อ แม้เวลาผ่านไป ทุกอย่างยังเหมือนเดิม พระเยซูถูกประชากรของพระองค์เองปฏิเสธ (ยอห์น 1:11-12) แต่พวกต่างชาติต่างศาสนากลับยอมรับพระองค์ พระเยซูทรงเป็นอิสราเอลแท้ เป็นผู้ทำให้พระสัญญาสำเร็จเป็นจริง และเป็นความหวังของอิสราเอล คำนำของมัทธิวสำหรับพระกิตติคุณที่แสนมหัศจรรย์เล่มนี้ เตรียมเราให้พร้อมรับเรื่องราวยิ่งใหญ่ที่รอเราอยู่เบื้องหน้า

ข้อสี่ มัทธิวเปลี่ยนมุมมองการอ่านพระคัมภีร์เดิมของเรา มัท ธิวมองเห็นพระเยซูในพระคัมภีร์เดิม ในที่ๆเราไม่คาดคิด เป็นเพราะในหลายๆด้าน พระเยซู อิสราเอลใหม่ ทรงเป็นคำตอบสุดท้ายในพระสัญญาของพระเจ้า เป็นความหวังของอิสราเอล ท่านเห็นพระเยซูในการอพยพออกจากอียิปต์ (โฮเชยา 11:1) ท่านเห็นพระเยซูในที่ๆเราไม่เห็น บางทีสิ่งนี้บอกว่าเราควรมองหาพระเยซูในพระคัมภีร์เก่าให้มากกว่าเดิม และบ่อยกว่าด้วย เราจึงไม่ประหลาดใจเมื่อได้อ่านจากปลายปากกาของ อ.เปาโล :

และได้รับประทานอาหารทิพย์ทุกคน และได้ดื่มน้ำทิพย์ทุกคน เพราะว่าเขาได้ดื่มน้ำซึ่งไหลออกมาจากพระศิลาที่ติดตามเขามา พระศิลานั้นคือพระคริสต์ (1 โครินธ์ 10:3-4)

ขอให้เรามองหาพระเยซูเมื่อเราอ่านพระคัมภีร์เดิม พระองค์ทรงอยู่ที่ั่นั่นมากกว่าที่เราคิด

ข้อห้า มัทธิวมีวิสัยทัศน์ ในพระราชกิจ ไม่ใช่เฉพาะตอนจบของพระกิตติคุณเท่านั้น (28:18-20) มีตั้งแต่เริ่มแรกทีเดียว เหตุ ใดผู้เขียนชาวยิว เขียนพระกิตติคุณเพื่อคนยิว จึงเขียนเรื่องคนต่างชาติตั้งแต่สองบทแรก หรือเป็นเพราะส่วนสำคัญที่สุดในพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ คือข่าวประเสริฐเรื่องความรอดและพระพรที่พระเจ้าเตรียมไว้ให้แก่ชนทุกชาติ ไม่ใช่แค่อิสราเอล พระสัญญาอับราฮัมเป็นพระสัญญาแห่งพระพรที่มีให้ทั้งอิสราเอล และมนุษยชาติ นี่คือเหตุที่พระเยซูทรงสำแดงเรื่องชาวต่างชาติให้เห็นชัดเจนในพระกิตติคุณ ลูกา 4:16-30 และที่มัทธิวรวมเชื้อสายคนต่างชาติอยู่ในลำดับพงศ์ของท่าน และอีกครั้งในบทที่ 2 ด้วย พวกเราในฐานะคนต่างชาติ ควรมองเห็นว่าเรามีทางเลือกในเรื่องความบาป และการที่พระเยซูอภัยให้ โดยชดใช้ด้วยพระโลหิตของพระองค์เอง พวกยิวด้วยต้องรับผิดชอบต่อการกบฏและการปฏิเสธพระองค์ มัทธิวเป็นหนังสือแห่งพระกิตติคุณ ; เป็นการประกาศข่าวประเสริฐเรื่องของขวัญแห่งชีวิตนิรันดร์ และการอภัยโทษบาปที่พระเจ้าทรงมอบให้แก่มนุษย์ทุกคน

เป็นพระกิตติคุณที่จบลงด้วยคำสั่ง สั่งให้เรานำข่าวดีนี้ไปบอกกับทุกชนชาติ เป็นสิ่งที่เราพึงกระทำ แต่ อยากให้เราเรียนรู้ด้วยว่า ถึงแม้มนุษย์ล้มเหลวในการทำตามพระมหาบัญชา ที่ให้ไปเป็น “แสงสว่างแก่ประชาชาติ” แต่พระเจ้าจะทรงนำคนที่พระองค์เลือกสรรไว้ให้มาถึงพระองค์ได้ ถึงแม้อิสราเอลล้มเหลวในการเป็น “แสงสว่างแก่คนต่างชาติ” พระเจ้าทรงมุ่งไปยังโหราจารย์ นำพวกเขามานมัสการพระกุมารเยซู แต่นี่ไม่ใช่ข้ออ้างที่จะไม่ทำตามพระมหาบัญชา ; แต่เป็นการหนุนใจว่าพระเจ้าไม่มีวันปล่อยให้ผู้ที่พระองค์เลือกสรรไว้หลงหาย ไป ไม่ว่าจะบาปแคไหน ไม่ว่าเราจะอยู่ไกลสุดหล้าฟ้าเขียวแค่ไหนก็ตาม

เมื่อเราย้อนนึกถึงเรื่องพระเจ้า “ทรงเรียก” พวกโหราจารย์มา ทำให้เราอดคิดถึงคำพูดของ อ.เปาโลใน หนังสือเอเฟซัสที่กล่าวถึงความรักและพระคุณของพระเจ้า ที่ทรงเรียกให้คนต่างชาติมาพบพระองค์ :

เหตุฉะนั้นท่านจงระลึกว่า เมื่อก่อนท่านเคยเป็นคนต่างชาติตามเนื้อหนัง และพวกที่รับพิธีเข้าสุหนัตซึ่งกระทำแก่เนื้อหนังด้วยมือ เคยเรียกท่านว่า เป็นพวกที่มิได้เข้าสุหนัต จงระลึกว่า ครั้งนั้นท่านทั้งหลายเป็นคนอยู่นอกพระคริสต์ ขาดจากการเป็นพลเมืองอิสราเอล และไม่มีส่วนในบรรดาพันธสัญญาซึ่งทรงสัญญาไว้นั้น ไม่มีที่หวัง และอยู่ในโลกปราศจากพระเจ้า แต่บัดนี้ในพระเยซูคริสต์ ท่านทั้งหลายซึ่งเมื่อก่อนอยู่ไกล ได้เข้ามาใกล้โดยพระโลหิตของพระคริสต์ (เอเฟซัส 2:11-13)

โดย : Robert L (Bob) Deffinbaugh

ได้รับอนุญาตและเป็นลิขสิทธิของ https://bible.org/

แปล : อรอวล ระงับภัย (Church of Joy)


1 นอกเหนือจากที่กล่าวมา พระวจนะคำที่นำมาใช้ทั้งหมดมาจาก NET Bible (The NEW ENGLISH TRANSLATION) หรือ THE NET BIBLE เป็นการแปลพระคัมภีร์ใหม่ทั้งหมด ไม่ใช่นำฉบับแปลภาษาอังกฤษเดิมที่แปลไว้แล้วมาเรียบเรียงใหม่ แต่เป็นการแปลโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญพระคัมภีร์มากกว่า 20 ท่าน แปลตรงจากฉบับภาษาฮีบรู อาราเมค และภาษากรีก วัตถุประสงค์ในการแปลคือต้องการเผยแผ่พระวจนะโดยสื่ออีเลคโทรนิค เพื่อใช้ในระบบอินเตอร์เน็ท หรือเก็บไว้เป็นซีดี (compact disk) ทุกคนในโลกที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ท สามารถคัดลอกนำ NET Bible ไปใช้ส่วนตัวได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆ นอกจากนี้ ผู้ใดต้องการแบ่งปันพระวจนะกับผู้อื่น สามารถคัดลอกหรือพิมพ์แจกจ่ายเพื่อการศึกษาได้โดยไม่มีค่าใช้จ่ายใดๆทั้ง สิ้น เว็บไซด์ที่ใช้คือ : www.netbible.org.

2 จากหนังสือของ J. W. Shepard, The Christ of the Gospels, p. 41. Everett Harrison in his book, Introduction to the New Testament (Grand Rapids: Eerdmans, 1964

3 ดูยอห์น 21:25

4 ดูข้อ 1: “หลังจากพระเยซูได้ทรงบังเกิด ในเยรูซาเล็ม… .” และจากอายุของเด็กๆที่ถูกฆ่า เราจึงรู้ว่าพระเยซูไม่ได้อยู่ในรางหญ้า แต่อาศัยอยู่ในบ้าน (2:11)

5 เหตุใดมัทธิวจึงบอกเราว่า “ดาว” ดวงนั้นปรากฎอีกครั้ง และเหล่าโหราจารย์ยินดียิ่งนักที่ได้เห็นดาว ดวงนั้นอีก (2:9-10)?

6 เฟรเดอริค บรูเนอร์ พยายามอธิบายว่าเหตุใดพระเจ้าจึงให้ดาวนำทางโหราจารย์มา มากกว่าเปิดเผยโดยทางพระวจนะ: “นักดาราศาสตร์ต่างชาติที่น่ารังเกียจเหล่านี้ ไม่มีสิ่งใดดีเลยได้แต่กราบไหว้รูปเคารพ แต่กลับถูกนำมาอิสราเอล แทนชนชาติที่รับการเปิดเผยมาก่อนทางพระวจนะ ชาวต่างชาติกลับเป็นพวกที่ติดตามแสวงหา ในขณะที่ประชากรของพระเจ้านั่งเฉยอยู่กับที่ พวกต่างชาติน่ารังเกียจกลับเชื่อพระวจนะ คนของพระเจ้าไม่ใส่ใจ” นี่คือสิ่งที่มัทธิวค้นพบตั้งแต่ศตวรรษแรก (จากหนังสือของ Bruner, The Christbook: A Historical/Theological Commentary, Waco, Texas: Word Books, 1987, vol. 1, pp. 47-48) ถ้าผมเรียงลำดับเหตุการณ์ถูกต้อง โหราจารย์อาจไม่เคยรู้เรื่องคำพยากรณ์ของมีคาห์ 5:2 มาก่อน แต่อาจได้รับการบอกเล่าว่าจะมี “กษัตริย์ชาวยิว” มาบังเกิดที่เบธเลเฮม

7 บรูเนอร์หน้า 45

8 “สำหรับคนอิสราเอล พวกโหราจารย์เป็นคนต่างชาติที่กราบไหว้รูปเคารพ และยังยึดถือเช่นนั้นจนถึง พระคัมภีร์ใหม่ และถูกพูดถึงในแง่ไม่ดีนัก (ตัวอย่างเช่น กิจการ 8:9-24 ซีโมนคนทำวิทยาคม และใน กิจการ 13:6-11 เอลีมาสหรือบารเยซู (ผู้ทำนายเท็จ ) พวกเขาเป็นพวกแสวงหาคำตอบหรือสอนผู้อื่น ให้แสวงหาจากสิ่งทรงสร้างไม่ใช่จากพระผู้สร้าง พวกเขาคิดคำนวณ และใช้สติปัญญาของตนเอง (เช่น เรื่องจักรราศี) แสวงหาความหมายจากสิ่งต่างๆ คนอิสราเอลจึงรังเกียจพวกหมอดูต่างชาติพวกนี้” บรูเนอร์ หน้า 45

9 เรื่องดาราศาสตร์ในสมัยนั้น อ่านได้จาก Michael Green, Matthew For Today: Expository Study of Matthew (Dallas, Texas: Word Publishing, 1989), pp. 49-50.

10 มุมมองนี้ดูได้จากหนังสือของ James Montgomery Boice, The Gospel of Matthew (Grand Rapids, Michigan: Baker Books, 2001), vol. 1, p. 30.

11 บรูเนอร์ หน้า 50. ตอนผมอ่านผมว่าบรูเนอร์ไม่ถูกต้องทีเดียวนัก ที่กล่าวว่าหลังจากโหราจารย์นมัสการพระเยซูแล้ว คำว่า”กษัตริย์” ถูกถอดไป น่าจะเป็นหลังจากอ้างข้อพระคำมีคาห์ 5:2 แล้วจึงเหลือแค่ “เฮโรด” เฉยๆใน 2:7 อย่างไรก็ตาม ข้อสังเกตุของบรูเนอร์นั้นน่าสนใจมาก

12 ถ้าข้อมูลของผมถูกต้อง เฮโรดน่าจะครอบครองมาแล้วประมาณ 33 ปี (กรีน หน้า48) คงอยู่ในราว 40 ปีก่อนคริสตกาล และปกครองจนถึงสมัยพระเยซู ดังนั้นเมื่อท่านตายน่าจะอายุราวๆ 70 ปี คนแก่ขนาดนี้กลัวเด็กทารกทำไม? หรือท่านเป็นเหมือนเราทั้งหลาย ชอบคิดว่าความตายยังอยู่ห่างไกล

13 กรีน หน้า 52

14 ดู 1 โครินธ์ 1:25

15 บรูเนอร์ หน้า 49

16 มีการเอ่ยถึงการ “นมัสการ” พระเยซูเพียงครั้งเดียวในพระกิตติคุณมาระโก แต่ในมัทธิวพูดถึงสิบครั้ง; … .” บรูเนอร์ หน้า 49

17 บอยส์ vol. 1, หน้า. 42

18 บรูเนอร์ vol. 1, หน้า 42

19 ไอบิด vol. 1, หน้า 42

20 ไอบิด หน้า 62

21 ไอบิด หน้า. 62

22 ให้ดูสดุดี 22:6-8, 13, 17; 69:9, 19-21; อิสยาห์ 49:7; 50:6; ดาเนียล 9:26

23 เรามองเห็นสิ่งที่เชื่อมโยงกันระหว่างพระเยซูและดาวิด ดาวิดได้รับการเจิมตั้งโดยซามูเอลให้เป็น กษัตริย์อิสราเอลองค์ใหม่ แต่ก็ต้องหลบหนีซาอูลกษัตริย์อิสราเอลในตอนนั้นซึ่งแสวงชีวิตของกษัตริย์ องค์ใหม่อยู่ตลอดเวลา

24 บรูเนอร์ หน้า 57

25 ไอบิด หน้า 59

26 บรูเนอร์ หน้า 60

Related Topics: Incarnation

3. การสังหารทารก และผู้บริสุทธิ์ต้องรับทุกข์ (มัทธิว 2:13-18)

Related Media

คำนำ1

มัทธิวทำให้นักศึกษาพระคัมภีร์ต้องเจอปัญหาหลายประการในการตีความพระ กิตติคุณของท่านในบทที่สอง อย่างที่ชี้ให้เห็นในบทเรียนที่แล้ว ท่านอ้างพระวจนะจากพระคัมภีร์เดิมถึงสี่ครั้งในบทที่สอง มีพระวจนะแค่ข้อเดียวที่คำพยากรณ์ตรงกับเหตุการณ์การประสูติของพระเยซู นั่นคือมีคาห์ 5:2 ในมัทธิว 2:6 มีคาห์พยากรณ์ว่าเบธเลเฮมจะเป็นที่ประสูติของพระเมสซิยาห์ ชัดเจนและตรงที่สุด แม้พวกนักศาสนาในเยรูซาเล็มที่ไม่เชื่อก็ยังเข้าใจ

อีก 3 ข้อจากพระคัมภีร์เดิมที่นำมาใช้ในมัทธิว 2 ไม่ได้เป็นคำพยากรณ์ตรงเป๊ะอย่างที่เราอยากเห็น เช่นจากโฮเชยา 11:1 ในมัทธิว 2:5 ไม่อาจพูดว่าเป็นคำพยากรณ์ที่ใช่ มัทธิวมองว่าที่พระเยซูเสด็จกลับจาก “ลี้ภัย” ที่อียิปต์ ทำให้คำของโฮเชยา “เราได้เรียกบุตรชายของเราออกมาจากอียิปต์” เกิดขึ้นเป็นจริง มัทธิว 2:23 เหมือนนำพระวจนะจากพระคัมภีร์เดิมมาใช้แต่ออกจะซับซ้อน เพราะไม่มีพระวจนะข้อใดในพระคัมภีร์เดิมพูดว่าพระเยซู “จะถูกเรียกว่าเป็นชาวนาซาเร็ธ” แต่ข้อที่จะเราเลือกเรียนกันคือ เยเรมีย์ 31:15 ที่พูดได้ว่าได้เกิดขึ้นจริงตามเหตุการณ์ในมัทธิว 2:16-18:2

ครั้นเขาไปแล้วก็มีทูตองค์หนึ่งของพระ เป็นเจ้า ได้มาปรากฏแก่โยเซฟในความฝันแล้วบอกว่า “จงลุกขึ้นพากุมารกับมารดาหนีไปประเทศอียิปต์ และคอยอยู่ที่นั่นจนกว่าเราจะบอกเจ้า เพราะว่าเฮโรดจะแสวงหากุมาร เพื่อจะประหารชีวิตเสีย” ในเวลากลางคืนโยเซฟจึงลุกขึ้น พากุมารกับมารดาไปยังประเทศอียิปต์ และได้อยู่ที่นั่นจนเฮโรดสิ้นพระชนม์ ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งได้ตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า เราได้เรียกบุตรของเราให้ออกมาจากอียิปต์ ครั้นเฮโรดเห็นว่าพวกโหราจารย์หลอกท่าน ก็กริ้วโกรธยิ่งนัก จึงใช้คนไปฆ่าเด็กผู้ชายทั้งหลาย ในบ้านเบธเลเฮมและที่ใกล้เคียงทั้งสิ้น ตั้งแต่อายุสองขวบลงมา ซึ่งพอดีกับเวลาที่ท่านได้ทราบจากพวกโหราจารย์นั้น ครั้งนั้นก็สำเร็จตามพระวจนะที่ตรัสโดยเยเรมีย์ผู้เผยพระวจนะว่า ได้ยินเสียงในหมู่บ้านรามาห์ เป็นเสียงโอดครวญและร่ำไห้ คือนางราเชลร้องไห้คร่ำครวญ เพราะบุตรทั้งหลายของตน นางไม่รับฟังคำปลอบเล้าโลม เพราะบุตรทั้งหลายนั้นไม่มีแล้ว (มัทธิว 2:13-18)3

มีคำถามเกิดขึ้นหลายข้อเมื่อมัทธิวนำเยเรมีย์ 31:15 มาโยงเข้ากับเฮโรดสังหารทารกในเบธเลเฮม บางคนสนใจวิธีที่มัทธิวใช้พระคำจากพระคัมภีร์เดิม อื่นๆเกี่ยวข้องกับอำนาจอธิปไตยของพระเจ้า และการที่มนุษย์ต้องรับทุกข์ เราจะอธิบายความทุกข์ที่เกิดขึ้นในการประสูติของพระเยซู และการลี้ภัยไปที่อียิปต์ว่าทำไม? จำเป็นด้วยหรือ? ทำไมพระเจ้าถึงอนุญาต? พระองค์น่าจะป้องกันไม่ให้เกิดขึ้น

มัทธิวทำอย่างไรให้ผู้อ่านเข้าใจการเชื่อมโยงระหว่างเฮโรดสังหารทารกใน 2:16-18 และเยเรมีย์ 31:15? อย่างที่รู้กัน ทารกเหล่านี้ยังเป็นมนุษย์ที่เรียกว่า “ไร้เดียงสา” ทำไมมัทธิวอธิบายเหตุการณ์ที่โหดเหี้ยมนี้ว่าถูกกำหนดไว้แล้ว หรือพระเจ้ามีพระประสงค์ให้เกิดขึ้น?

บทเรียนนี้ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในมัทธิว 2:16-18 เราจะมาหาคำตอบในมุมมองที่กว้างกว่าของพระคัมภีร์ และตามมุมมองของศาสนศาสตร์ จุดมุ่งหมายของบทเรียนนี้เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นเรื่องการทนทุกข์ โดยเฉพาะ “ทุกข์ที่ตัวเองไม่ได้ก่อ” เราจะมาเรียนว่าทำไม และอย่างไร “ผู้บริสุทธิ์ต้องมารับทุกข์” ตามที่พระเจ้ากำหนด จะเริ่มจากดูที่พระวจนะตอนอื่นก่อน แล้วกลับมาที่มัทธิวนำเยเรมีย์ 31:15 มาใช้ในมัทธิว 2:18

ความทุกข์เป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ชีวิตคนเรา (โรม 8:18-27)

เพราะข้าพเจ้าเห็นว่าความทุกข์ลำบากแห่ง สมัยปัจจุบัน ไม่สมควรที่จะเอาไปเปรียบกับศักดิ์ศรี ซึ่งจะเผยให้แก่เราทั้งหลาย ด้วยว่าสรรพสิ่งที่ทรงสร้างแล้ว มีความเพียรคอยท่าปรารถนาให้บุตรทั้งหลายของพระเจ้าปรากฏ เพราะว่าสรรพสิ่งเหล่านั้นต้องเข้าอยู่ในอำนาจของอนิจจัง ไม่ใช่ตามใจชอบของตนเอง แต่เป็นไปตามที่พระเจ้าได้ทรงให้เข้าอยู่นั้น ด้วยมีความหวังใจว่า สรรพสิ่งเหล่านั้นจะได้รอดจากอำนาจแห่งความเสื่อมสลาย และจะเข้าในเสรีภาพและศักดิ์ศรีแห่งบุตรทั้งหลายของพระเจ้า เรารู้อยู่ว่าบรรดาสรรพสิ่งที่ทรงสร้างนั้นกำลังคร่ำครวญ และผจญความทุกข์ยากด้วยกันมาจนทุกวันนี้ และไม่ใช่เท่านั้น แต่เราทั้งหลายเองด้วย ผู้ได้รับพระวิญญาณเป็นผลแรก ตัวเราเองก็ยังคร่ำครวญคอยการที่พระเจ้าทรงให้เป็นบุตร คือที่จะทรงให้กายของเราทั้งหลายรอดตาย เหตุว่าเราทั้งหลายรอดแม้เป็นเพียงความหวังใจ แต่ความหวังใจในสิ่งที่เราเห็นได้ หาเป็นความหวังใจไม่ ด้วยว่าใครเล่าจะยังหวังในสิ่งที่เขาเห็นแต่ถ้าเราทั้งหลายคอยหวังใจในสิ่ง ที่เรายังไม่ได้เห็น เราจึงมีความเพียรคอยสิ่งนั้น (18-25)

ในทำนองเดียวกัน พระวิญญาณก็ทรงช่วยเราเมื่อเราอ่อนกำลังด้วย เพราะเราไม่รู้ว่าเราควรจะอธิษฐานขอสิ่งใดอย่างไร แต่พระวิญญาณทรงช่วยขอแทนเรา ในเมื่อเราคร่ำครวญอธิษฐานไม่เป็นคำและพระองค์ผู้ทรงชันสูตรใจมนุษย์ ก็ทรงทราบความหมายของพระวิญญาณ เพราะว่า พระวิญญาณทรงอธิษฐานขอเพื่อธรรมิกชนตามที่ชอบพระทัยพระเจ้า (26-27)

อ. เปาโลชี้ให้เห็นว่ามนุษย์เต็มไปด้วยความบาปและสมควรแก่พระอาชญานิรันดร์ ไม่ว่ามาตรฐานของมนุษย์จะล้มเหลวจนมองไม่เห็นพระเจ้าในธรรมชาติ (โรม 1) หรือการสำแดงของพระเจ้าในธรรมบัญญัติโมเสส (โรม 2) ธรรมบัญญัติไม่อาจช่วยมนุษย์ให้รอด มีแต่ชี้ให้เห็นความผิดพลาด เพราะไม่มีใครทำตามที่บัญญัติไว้ได้ครบถ้วน (โรม 3:1-20) เมื่อมนุษย์ไม่อาจรอดได้จากการกระทำของตนเอง พระเจ้าทรงเตรียมหนทางให้โดยไม่เกี่ยวกับการกระทำ โดยทางความเชื่อในพระเยซูคริสต์ การสิ้นพระชนม์อย่างทุกข์ทรมานของพระองค์ เพื่อคนที่วางใจในพระองค์จะรอดได้ (โรม 3:21-31) ความรอดโดยทางความเชื่อไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ เป็นทางเดียวกับที่อับราฮัมและธรรมิกชนในพระคัมภีร์เดิมได้รับมาแล้ว (โรม 4)

ในโรม 5 อ.เปาโลพูดถึงสิทธิพิเศษในความรอดที่พระเจ้ามอบให้โดยการสิ้นพระชนม์อย่าง ทุกข์ทรมาน และการคืนพระชนม์ของพระเยซูคริสต์ ที่น่าสนใจคือสิทธิพิเศษแรกที่ อ.เปาโลพูดถึงเกี่ยวข้องกับการทนทุกข์ :

เหตุฉะนั้น เมื่อเราได้เป็นคนชอบธรรมเพราะความเชื่อแล้ว เราจึงมีสันติสุขในพระเจ้า ทางพระเยซู คริสตเจ้าของเรา โดยทางพระองค์เราจึงได้เข้าในร่มพระคุณที่เรายืนอยู่ และเราชื่นชมยินดีในความไว้วางใจ ว่าจะได้มีส่วนในพระสิริของพระเจ้า ยิ่งกว่านั้น เราชื่นชมยินดีในความทุกข์ยากของเราด้วย เพราะเรารู้ว่าความทุกข์ยากนั้น ทำให้เกิดความอดทน และความอดทนทำให้เห็นว่าเราเป็นคนที่พระเจ้าทรงใช้ได้ และการที่เราเห็นเช่นนั้นทำให้เกิดมีความหวังใจ และความหวังใจมิได้ทำให้เกิดความเสียใจเพราะผิดหวัง เพราะเหตุว่าความรักของพระเจ้าได้หลั่งเข้าสู่จิตใจของเรา โดยทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ ซึ่งพระองค์ได้ประทานให้แก่เราแล้ว ขณะเมื่อเรายังขาดกำลัง พระคริสต์ก็ได้ทรงสิ้นพระชนม์เพื่อช่วยคนบาปในเวลาที่เหมาะสม ไม่ใคร่จะมีใครตายเพื่อคนตรง แต่บางทีจะมีคนอาจตายเพื่อคนดีก็ได้ แต่พระเจ้าทรงสำแดงความรักของพระองค์แก่เราทั้งหลาย คือขณะที่เรายังเป็นคนบาปอยู่นั้น พระคริสต์ได้ทรงสิ้นพระชนม์เพื่อเรา เพราะเหตุนั้นเมื่อเราเป็นคนชอบธรรมแล้วโดยพระโลหิตของพระองค์ ยิ่งกว่านั้นเราจะพ้นจากพระอาชญาของพระเจ้าโดยพระองค์ เพราะว่าถ้าขณะที่เรายังเป็นศัตรูต่อพระเจ้าเราได้กลับคืนดีกับพระองค์ โดยที่พระบุตรของพระองค์สิ้นพระชนม์ ยิ่งกว่านั้นอีกเมื่อเรากลับคืนดีแล้ว เราก็จะรอดโดยพระชนม์ชีพของพระองค์แน่ มิใช่เพียงเท่านั้น เราทั้งหลายยังชื่นชมยินดีในพระเจ้า โดยทางพระเยซูคริสตเจ้าของเรา ผู้ทรงเป็นเหตุให้เราได้กลับคืนดีกับพระเจ้า (โรม 5:1-11)

ความรอดของพระเจ้าในพระเยซูคริสต์หยัดยืน ได้ในความทุกข์ ที่จริงแล้วเรามีความชื่นชมยินดีในความทุกข์ ด้วยรู้ว่าจะทำให้ความเชื่อของเราหนักแน่นมั่นคง และมั่นใจในชีวิตนิรันดร์ ความรอดในองค์พระเยซูคริสต์นี้ ปลดปล่อยผู้เชื่อทุกคนจากการล้มลงของอาดัมและผลสาปแช่งของบาป สิ่งที่อาดัมทำ พระเจ้าทรงลบล้างแล้วในองค์พระเยซูคริสต์ และมากกว่านั้น (5:12-21)

ความรอดของพระเจ้าในพระเยซูคริสต์ไม่ใช่เป็นใบเบิกทางให้ทำบาป แต่เป็นแรงกระตุ้นให้ดำเนินชีวิตตามแบบของพระองค์ เพราะเราผู้ซึ่งนับว่าตายแล้วในพระคริสต์โดยทางความเชื่อ ก็ได้ตายจากบาป และไม่อาจดำเนินชีวิตอยู่ในความบาปต่อไป (โรม 6:1-14) ต้องเข้าใจว่าเราหลุดพ้นจากพันธนาการของบาปแล้ว และตระหนักว่าค่าจ้างของความบาปคือความตาย ซึ่งแน่นอนเราไม่อาจดำเนินในทางนั้นได้อีกต่อไป (6:15-23) ในพระคริสต์ เราไม่เพียงแต่ตายจากบาป เราตายจากธรรมบัญญัติด้วย ซึ่งปลดปล่อยเราให้เป็นอิสระโดยทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ (7:1-7) ธรรมบัญญัติไม่ได้เป็นรากเหง้าของปัญหา ความบาปต่างหาก เนื้อหนังของเรา (เรี่ยวแรงตามธรรมชาติของมนุษย์) ไม่เพียงพอเอาชนะความบาปได้ ความบาปจึงเอาชนะได้เมื่อเราพยายามด้วยกำลังของเราเอง (7:8-25)

ทางออกจากอำนาจบาปคืออำนาจของพระวิญญาณบริสุทธิ์ คนที่วางใจในพระเยซูคริสต์ไม่ได้ตกอยู่ภายใต้คำแช่งสาปอีกต่อไป พวกเขาไม่ตกอยู่ในอาณาจักรของบาปแล้ว และมีอำนาจที่จะเอาชนะอย่างที่กำลังของเนื้อหนังทำไม่ได้ (ความชอบธรรมตามธรรมบัญญิติครบถ้วนแล้วในเรา) แต่ทำได้โดยทางพระวิญญาณ พระวิญญาณเดียวกับที่ชุบพระเยซูคริสต์ขึ้นมาจากความตาย เดี๋ยวนี้สถิตอยู่ในเรา ประทานชีวิตให้กับกายที่เสื่อมสลายนี้ ทุกคนที่เป็นผู้เชื่อแท้ในพระเยซูคริสต์มีพระวิญญาณสถิตอยู่ และที่เหนือกว่าทรงให้เรามั่นใจได้ว่าเราเป็น “บุตรของพระเจ้า” (8:1-17)

เราอาจคิดว่าเมื่ออ่านโรม 8:18 อ.เปาโลกำลังบอกว่าต่อไปนี้ชีวิตเราจะ “โรยด้วยกลีบกุหลาบ” มีพระวิญญาณบริสุทธิ์ในเรารับประกันว่าความเจ็บปวด และความทุกข์จะหมดสิ้นไป แต่ในข้อ 18-30 อ.เปาโลกลับพูดตรงกันข้าม ท่านยืนยันว่าชีวิตมนุษย์ทุกคนต้องเผชิญกับประสบการณ์ “ความทุกข์ยาก และการคร่ำครวญ” เพราะการล้มลงของมนุษย์และผลที่ตามมา ตามที่ท่านเขียน “เรารู้อยู่ว่าบรรดาสรรพสิ่งที่ทรงสร้างนั้นกำลังคร่ำครวญ และผจญความทุกข์ยากด้วยกันมาจนทุกวันนี้” (8:22) ความวุ่นวายและคำแช่งสาปผลจากความบาปของอาดัมจะยังไม่หมดไปจนกว่าการเสด็จกลับมาอีกครั้งของพระเยซูคริสต์ และ “ให้บุตรทั้งหลายของพระเจ้าปรากฏ” (8:19) และในเวลานั้นพระเจ้าจะ “ทรงให้เป็นบุตร คือที่จะทรงให้กายของเราทั้งหลายรอดตาย” (8:23) และเมื่อเวลานั้นมาถึง เราและสรรพสิ่งทรงสร้างจะได้รับการปลดปล่อยจากพันธนาการของความเสื่อมสลาย (8:21)

ถ้าทั้งสิ้นในโลกนี้ยังทนทุกข์และคร่ำครวญ สำหรับคริสเตียนแล้วต้องเผชิญมากกว่า คริสเตียนเป็นพวกที่ได้ลิ้มรสชีวิตนิรันดร์ และได้รับ “พระวิญญาณเป็นผลแรกแล้ว” (8:22) เราไม่เพียงแต่รอคอยเวลาที่พระเจ้าจะทำให้ทุกสิ่งเป็นสิ่งใหม่ แต่เรายังคร่ำครวญต่อโลกนี้ที่ล่มสลายเพราะความบาป ถึงกระนั้นเราก็ยังรอคอยวันนั้นด้วยความเพียรและความหวังใจ (8:25)

ความรอดในพระคริสต์และของประทานจากพระวิญญาณไม่ได้กันเราออกจากความทุกข์ แต่ทำให้เราฝ่าความทุกข์นั้นไปได้ พระวิญญาณจะเสริมกำลังและพยุงเราไว้ ให้ความมั่นใจในความเป็นบุตร อธิษฐานแทนเมื่อเราคร่ำครวญเพราะความทุกข์ (8:26-27) พระเจ้าองค์เดียวกันนี้ที่นำเราให้รอดพ้นจากพระอาชญาและอำนาจของบาป จะปลดปล่อยเราออกจากความบาปของปัจจุบัน จนกว่าจะถึงวันนั้น พระวิญญาณบริสุทธิ์จะทรงช่วยเราในท่ามกลางความทุกข์ที่ต้องเผชิญ

สรุปคือ ความทุกข์ยากเป็นประสบการณ์ที่มนุษย์ต้องเผชิญ เพราะเราอยู่ในโลกที่ถูกคำแช่งสาปของบาป พระเจ้าประทานสิ่งที่จำเป็นในการเผชิญความทุกข์ในชีวิต และนำไปจนถึงเป้าหมายที่ทรงเตรียมไว้ให้ในชีวิตเรา เราทนต่อความทุกข์ได้เพราะพระเจ้าประทานพระวิญญาณบริสุทธิ์ให้ เพื่อปลอบประโลมและให้ความมั่นใจในฐานะบุตรของพระองค์ ทำหน้าที่แทนเมื่อเราอ่อนกำลัง คริสเตียนไม่ได้รับการยกเว้นในเรื่องความทุกข์ แต่เพราะชีวิตใหม่และความหวังใจนิรันดร์ ทำให้สามารถ “ทนทุกข์คร่ำครวญ” ได้พร้อมกับทุกสรรพสิ่งทรงสร้าง รอคอยการกลับมาของพระเยซูคริสต์ และถ้าการทนทุกข์เหล่านี้ทำสิ่งใดให้ได้บ้าง ทำให้เรากระหายหาแผ่นดินสวรรค์ของพระองค์ :

พระวิญญาณนั้นเป็นพยานร่วมกับวิญญาณจิต ของเราทั้งหลายว่า เราทั้งหลายเป็นบุตรของพระเจ้า และถ้าเราทั้งหลายเป็นบุตรแล้ว เราก็เป็นทายาท คือเป็นทายาทของพระเจ้า และเป็นทายาทร่วมกับพระคริสต์ เมื่อเราทั้งหลายทนทุกข์ทรมานด้วยกันกับพระองค์นั้น ก็เพื่อเราทั้งหลายจะได้ศักดิ์ศรีด้วยกันกับพระองค์ด้วย เพราะข้าพเจ้าเห็นว่าความทุกข์ลำบากแห่งสมัยปัจจุบัน ไม่สมควรที่จะเอาไปเปรียบกับศักดิ์ศรี ซึ่งจะเผยให้แก่เราทั้งหลาย (16-18)

ไม่ใช่ทุกการทนทุกข์เป็นผลโดยตรงจากความบาปของเรา –
ยอห์น 9:1-7

เมื่อพระองค์เสด็จดำเนินไปนั้น ทรงเห็นชายคนหนึ่งตาบอดแต่กำเนิด และพวกสาวกของพระองค์ทูลถามพระองค์ว่า “พระอาจารย์เจ้าข้า ใครได้ทำผิดบาป ชายคนนี้หรือบิดามารดาของเขา เขาจึงเกิดมาตาบอด” พระเยซูตรัสตอบว่า “มิใช่ว่าชายคนนี้หรือบิดามารดาของเขาได้ทำบาป แต่เขาเกิดมาตาบอด เพื่อให้พระราชกิจของพระเจ้าปรากฏในตัวเขา เราต้องกระทำพระราชกิจของพระองค์ผู้ทรงใช้เรามาเมื่อยังวันอยู่ เมื่อถึงกลางคืนไม่มีผู้ใดทำงานได้ ตราบใดที่เรายังอยู่ในโลก เราเป็นความสว่างของโลก” เมื่อตรัสดังนั้นแล้ว พระองค์ก็ทรงบ้วนน้ำลายลงที่ดิน แล้วทรงเอาน้ำลายนั้นทำเป็นโคลนทาที่ตาของคนตาบอด แล้วตรัสสั่งเขาว่า “จงไปล้างโคลนออกเสียในสระสิโลอัมเถิด” (สิโลอัมแปลว่า ใช้ไป) เขาจึงไปล้างแล้วกลับมาก็เห็นได้

เราคงจำเรื่องโยบและเพื่อนๆที่มา “ทอนกำลังใจ” กันได้ พวกเขาให้คำปรึกษาโดยตั้งอยู่บนการคาดเดาที่ผิดพลาด – ความทุกข์มาจากผลโดยตรงของบาปที่ตัวเองก่อเสมอ – แม้แต่สาวกของพระเยซูยังคิดเช่นนั้น ขณะเดินทาง พระเยซูทอดพระเนตรเห็นชายตาบอดแต่กำเนิด ผมสงสัยว่าพวกสาวกจะเห็นมั้ยถ้าพระเยซูไม่เอ่ยถึง4 พวกสาวกทูลถามว่าใครเป็นคนทำบาป ชายตาบอดหรือพ่อแม่ของเขา5 พวกเขาไม่เคยคิดได้เลยว่าชายคนนี้อาจไม่ได้ทนทุกข์เพราะความบาปของตัวเองหรือของพ่อแม่

นี่เป็นคำอธิบายถึงความทุกข์ของมนุษย์ที่ล่อแหลม อาจทำให้บางคนยอมรับได้ ในอีกด้านทำให้มีคำตอบสำหรับความทุกข์ หรือทำให้ทนต่อไปได้ มันง่ายมากที่จะรับเอาคำอธิบายว่าคนที่เจอความทุกข์นั้นสมควรแล้วเพราะก่อ เรื่องเอง แต่คนที่ต้องรับทุกข์ในเรื่องที่ตนเองไม่ได้ก่อก็ยากเกินอธิบาย ในอีกด้าน เป็นคำอธิบายที่ง่ายและยอมรับได้เพราะทำให้ไม่ต้องรับผิดชอบช่วยเหลือคนที่ ทนทุกข์นั้น ถ้าคนที่เจอความทุกข์เพราะตัวเองก่อ ความทุกข์นั้นก็เป็นการพิพากษาของพระเจ้าต่อบาป ถ้าพระเจ้าจะลงโทษคนที่ทำผิด เราเป็นใครที่จะไปช่วยเหลือ? เพราะเราจะกลายเป็นตัวการขัดขวางพระประสงค์ของพระเจ้า

มันยากที่จะนึกว่าชายตาบอดคนนี้รู้สึกอย่างไรเมื่อตกเป็นหัวข้อสนทนา เขาจะไม่รู้เลยหรือว่าถูกผู้คนตราหน้าทำนองนี้มานักต่อนัก พระเยซูทรงตอบคำถามสาวกในแบบที่ทำให้พวกเขาตะลึง ตรัสว่าที่ชายคนนี้ตาบอดแต่กำเนิดไม่ใช่เพราะความบาป ไม่ใช่บาปของเขาเอง หรือบาปของพ่อแม่ พระองค์กลับประกาศว่าที่ชายคนนี้ตาบอดเพื่อให้พระราชกิจของพระเจ้าปรากฏในตัวเขา6 ถ้าผมเป็นชายตาบอดคนนั้น ผมคงหูผึ่งอยากรู้ว่าจะเกิดอะไรต่อไป หลังจากประกาศไปว่า “เราเป็นความสว่างของโลก” พระเยซูทรงบ้วนพระเขฬะ (น้ำลาย) ลงที่ดิน ทำเป็น “โคลน” ทาที่ตาของชายตาบอด สั่งให้ไปล้างออกที่ในสระสิโลอัม เมื่อเขาทำตาม ก็มองเห็น

ขอให้การอัศจรรย์นี้เป็นคำสั่งและเป็นคำเตือนถึงเราทุกคน ความทุกข์ไม่จำเป็นต้องเป็นผลโดยตรงจากความบาปของคนๆนั้น แน่นอนเราเคยเห็นหลายเหตุการณ์ที่ความบาปและความทุกข์จูงมือไปด้วยกัน นี่เป็นกรณีของชายอัมพาตที่ริมสระเบธซาธาในยอห์นบทที่ 5 พระเยซูทรงเข้าไปรักษาชายคนนี้ แล้วหลบไป ชายอัมพาตนี้ก็แบกแคร่เดินกลับบ้าน ทำให้ละเมิดกฎของวันสะบาโต เขาจึงถูก “ตำรวจศาสนา” จัดการเพราะทำผิดกฎวันสะบาโต เมื่อเขาเล่าให้ฟังเรื่องการรักษา พวกนั้นก็ตื๊ออยากรู้ให้ได้ว่าใครเป็นคนรักษา – ในความคิดพวกเขาคนที่รักษานี้ก็น่าจะ “ละเมิดกฎวันสะบาโต” ด้วย ชายอัมพาตไม่รู้ว่าคนนั้นเป็นใคร เลยบอกไม่ได้ พระเยซูไปพบชายคนนั้นอีกทีที่หลังพระวิหาร แล้วตรัสกับเขาว่า:

“นี่แน่ะ เจ้าหายโรคแล้ว อย่าทำบาปอีก มิฉะนั้นเหตุร้ายกว่านั้นจะเกิดกับเจ้า” ชายคนนั้นก็ได้ออกไปบอกพวกยิวว่า ท่านที่ได้รักษาเขาให้หายโรคนั้น คือพระเยซู (ยอห์น 5:14ข-15)

ชายที่หายจากอัมพาตนี้รีบไปรายงานพวก “เจ้าหน้าที่ยิว” ว่าพระเยซูเป็นผู้รักษาให้หาย ที่แน่ๆคือชายคนนี้ต้องทนทุกข์เพราะบาปของตน พระเจ้าจึงเตือนไม่ให้ทำบาปอีก แทนที่จะเชื่อฟังและละจากบาป เขากลับไปรายงานเรื่องพระเยซูให้เจ้าหน้าที่ฟัง

ความบาปที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยมีบันทึกอยู่ในยากอบบทที่ 5 ยากอบสั่งให้ผู้ป่วยเชิญบรรดาผู้ปกครองของคริสตจักรมา และถ้าทำบาปก็ให้สารภาพเสีย (ยากอบ 5:14-16) บางครั้งบาปก็เป็นต้นเหตุแห่งความทุกข์ 7 แต่ไม่เสมอไป ในกรณีของชายตาบอดแต่กำเนิด การทนทุกข์ของเขาทำให้พระราชกิจของพระเจ้าได้ปรากฎ

พระเจ้าทรงใช้การทนทุกข์ของเราเพื่อให้เกิดผลดีกับเรา
2โครินธ์ 12:1-10 / ฟีลิปปี 3:7-11 / สดุดี 119:65-72, 92

ข้าพเจ้าจำจะต้องอวด ถึงแม้จะไม่มีประโยชน์อะไร แต่ข้าพเจ้าจะเล่าต่อไป ถึงนิมิตและการสำแดงซึ่งมาจากองค์พระผู้เป็นเจ้า ข้าพเจ้าได้รู้จักชายคนหนึ่งผู้เลื่อมใสในพระคริสต์สิบสี่ปีมาแล้ว เขาถูกรับขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นที่สาม (แต่จะไปทั้งกายหรือไปโดยไม่มีกายข้าพเจ้าไม่รู้ พระเจ้าทรงทราบ) ข้าพเจ้าทราบ (แต่จะไปทั้งกายหรือไม่มีกายข้าพเจ้าไม่รู้ พระเจ้าทรงทราบ) ว่าคนนั้นถูกรับขึ้นไปยังเมืองบรมสุขเกษม และได้ยินวาจาซึ่งจะพูดเป็นคำไม่ได้ และมนุษย์จะออกเสียงก็ต้องห้าม สำหรับชายคนนั้นข้าพเจ้าอวดได้ แต่สำหรับตัวข้าพเจ้าเอง ข้าพเจ้าจะไม่อวดเลย นอกจากจะอวดถึงเรื่องการอ่อนแอของข้าพเจ้า เพราะถึงแม้ว่าข้าพเจ้าอยากจะอวดข้าพเจ้าก็ไม่ใช่คนเขลา เพราะข้าพเจ้าพูดตามความจริง แต่ข้าพเจ้าระงับไว้ ก็เพราะเกรงว่า บางคนจะยกข้าพเจ้าเกินกว่าที่เขาได้รู้จากการเห็นและฟังข้าพเจ้า และเพื่อไม่ให้ข้าพเจ้ายกตัวจนเกินไป เนื่องจากที่ได้เห็นการสำแดงมากมายนั้น ก็ทรงให้มีหนามใหญ่ในเนื้อของข้าพเจ้า หนามนั้นเป็นทูตของซาตานคอยทุบตีข้าพเจ้าเพื่อไม่ให้ข้าพเจ้ายกตัวเกินไป เรื่องหนามใหญ่นั้น ข้าพเจ้าวิงวอนองค์พระผู้เป็นเจ้าถึงสามครั้ง เพื่อขอให้มันหลุดไปจากข้าพเจ้า แต่พระองค์ตรัสกับข้าพเจ้าว่า “การที่มีคุณของเราก็พอแก่เจ้าแล้ว เพราะความอ่อนแอมีที่ไหน เดชของเราก็มีฤทธิ์ขึ้นเต็มขนาดที่นั่น” เหตุฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงภูมิใจในบรรดาความอ่อนแอของข้าพเจ้า เพื่อฤทธิ์เดชของพระคริสต์จะได้อยู่ในข้าพเจ้า เหตุฉะนั้นเพราะเห็นแก่พระคริสต์ ข้าพเจ้าจึงชื่นใจในบรรดาความอ่อนแอของข้าพเจ้า ในการประทุษร้ายต่างๆในความยากลำบาก ในการถูกข่มเหง ในความอับจน เพราะว่าข้าพเจ้าอ่อนแอเมื่อใด ข้าพเจ้าก็จะแข็งแรงมากเมื่อนั้น (2โครินธ์ 12:1-10)

พระคัมภีร์บันทึกถึงตัวอย่างที่พระเจ้าทรงใช้ความทุกข์ในชีวิตมนุษย์ให้ เกิดผลดีกับตัวเขาเอง เราเห็นว่าพระเจ้าทรงใช้ความทุกข์ของคนตาบอดแต่กำเนิดเพื่อนำเขามาถึงความ เชื่อ (ดูยอห์น 9:35-38) หลายคนที่มารับการรักษาจากพระเยซูแล้วกลับไปในความเชื่อ พระเจ้าใช้ความทุกข์ในชีวิตผู้นั้นเพื่อให้เกิดผลดีกับตัวเขาเอง

ใน 2โครินธ์ อ.เปาโลยังเดินหน้าต่อสู้กับพวก “อัครทูตเทียม” (2โครินธ์ 11:13) โดยไม่ต้องการเอาตัวเข้าไปเปรียบเทียบ (ดู 2โครินธ์ 11:21-29) ในบทที่ 12 อ.เปาโลพูดถึง “การถูกรับขึ้นไปยังสวรรค์ชั้นที่สาม” (12:2) ไปยังเมืองบรมสุขเกษมที่ท่านได้ยิน “วาจาซึ่งจะพูดเป็นคำไม่ได้” (12:4) นี่เป็นสิ่งที่นำมาใช้อวดอ้างได้ พระเจ้าจึงอนุญาตให้มี “หนามใหญ่ในเนื้อของท่าน” ความทุกข์นี้เป็นมาจากพระเจ้าที่กระทำผ่าน “ทูตของซาตาน” (12:7) อ.เปาโลวิงวอนพระเจ้าถึงสามครั้งเพื่อให้มันหลุดออกไป แต่ละครั้ง พระเจ้าปฏิเสธคำขอของท่าน เตือนว่า “การที่มีคุณของเราก็พอแก่เจ้าแล้ว” เพราะ “ฤทธิเดชของพระองค์จะเต็มขนาดในความอ่อนแอของท่าน” (12:9)

หนามในเนื้อของ อ.เปาโลทำให้ท่านถ่อมลง ทำให้อ่อนแอในแบบของมนุษย์ เพื่อฤทธิอำนาจของพระเจ้าจะปรากฏชัดในชีวิตท่าน ความทุกข์กันให้ อ.เปาโลไม่ตกอยู่ในบาปความผยองฝ่ายวิญญาณ ไม่พึ่งฤทธิอำนาจของพระเจ้าโดยทางพระวิญญาณ สิ่งนี้ทำให้ท่านมีมุมมองเรื่องความทุกข์แตกต่างไป:

เหตุฉะนั้นเพราะเห็นแก่พระคริสต์ ข้าพเจ้าจึงชื่นใจในบรรดาความอ่อนแอของข้าพเจ้า ในการประทุษร้ายต่างๆในความยากลำบาก ในการถูกข่มเหง ในความอับจน เพราะว่าข้าพเจ้าอ่อนแอเมื่อใด ข้าพเจ้าก็จะแข็งแรงมากเมื่อนั้น (2โครินธ์ 12:10)

ในฟีลิปปี 3 อ.เปาโลพูดถึงพระพรอีกแบบที่พระเจ้ามอบให้ท่านผ่านการทนทุกข์ :

แต่ว่าสิ่งใดที่เคยเป็นคุณประโยชน์แก่ ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าถือว่าสิ่งนั้นไร้ประโยชน์แล้ว เพื่อเห็นแก่พระคริสต์ ที่จริงข้าพเจ้าถือว่าสิ่งสารพัดไร้ประโยชน์ เพราะเห็นแก่ความประเสริฐแห่งความรู้ถึงพระเยซูคริสต์ องค์พระผู้เป็นเจ้าของข้าพเจ้า เพราะเหตุพระองค์ ข้าพเจ้าจึงได้ยอมสละสิ่งสารพัด และถือว่าสิ่งเหล่านั้นเป็นเหมือนหยากเยื่อเพื่อข้าพเจ้าจะได้พระคริสต์ และจะได้ปรากฏอยู่ในพระองค์ ไม่มีความชอบธรรมของข้าพเจ้าเอง ซึ่งได้มาโดยธรรมบัญญัติ แต่มีมาโดยความเชื่อในพระคริสต์ เป็นความชอบธรรมซึ่งมาจากพระเจ้าซึ่งขึ้นอยู่กับความเชื่อ ข้าพเจ้าต้องการจะรู้จักพระองค์ และได้รับประสบการณ์ในฤทธิ์เดช เนื่องในการที่พระองค์ทรงคืนพระชนม์นั้น และร่วมทุกข์กับพระองค์ คือยอมตั้งอารมณ์ตายเหมือนพระองค์ ถ้าเป็นไปได้ข้าพเจ้าก็จะได้เป็นขึ้นมาจากความตายด้วย (ฟีลิปปี 3:7-11)

ครั้งหนึ่ง อ.เปาโลเคยเป็นพวกเคร่งในบทบัญญัติ เป็นฮีบรูแท้ของฮีบรู” และเป็นฟาริสีที่เคร่งครัด (3:5) ประสบการณ์บนถนนสู่ดามัสกัส และการกลับใจที่ตามมาสำแดงให้เห็นถึงความบาป ความชอบธรรมของท่านเอง และความจำเป็นที่ต้องได้รับความรอดโดยทางความเชื่อนอกเหนือจากการงานทาง ศาสนา ในฐานะบุตรของพระเจ้า ท่านมีมุมมองที่เปลี่ยนไปอย่างสิ้นเชิง ท่านได้พบว่าทุกสิ่งที่ท่านภาคภูมิใจนั้นไร้ประโยชน์ – หรือตามคำพูดของท่านเป็น “หยากเยื่อ” (ข้อ 8) ครั้งที่ท่านมองความทุกข์ว่าเป็นการแช่งสาปจากพระเจ้าต่อคนบาป (เหมือนกับที่พวกสาวกคิดในยอห์น 9) เดี๋ยวนี้ท่านมองความทุกข์ว่าเป็นพระพร ได้มีประสบการณ์ในความทุกข์ยากเพื่อพระคริสต์ และได้มีส่วนในสามัคคีธรรมร่วมกับพระองค์ ทำให้ท่านรู้จักพระเยซูลึกซึ้งกว่าเดิม มีคริสเตียนกี่คนที่มองความทุกข์ของตนเองในแบบเดียวกัน? ในความทุกข์นั้นพวกเขาจะใกล้ชิดพระคริสต์มากขึ้น ความเชื่อเพิ่มมากขึ้นอย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนในความสะดวกสบายฝ่ายกาย ความทุกข์ในชีวิตธรรมิกชนถูกออกแบบมาเพื่อดึงให้เราเข้าใกล้พระเจ้า มีสามัคคีธรรมที่ลึกซึ้งกับพระเยซู เพราะการทนทุกข์ของพระองค์เป็นเหตุให้เราได้เข้าไปใกล้พระเจ้า

ธรรมิกชนในพระคัมภีร์เดิมก็เช่นกัน ได้รับการปลอบประโลมและเติบโตขึ้นในความทุกข์ยาก เห็นได้ในหนังสือสดุดี 119 :

65 พระองค์ได้ทรงกระทำดีต่อผู้รับใช้ของพระองค์
ข้าแต่พระเจ้า ตามพระวจนะของพระองค์
66 ขอทรงสอนปฏิภาณและความรู้แก่ข้าพระองค์
เพราะข้าพระองค์เชื่อถือพระบัญญัติของพระองค์
67 ก่อนที่ข้าพระองค์ทุกข์ยาก ข้าพระองค์หลงเจิ่น
แต่บัดนี้ข้าพระองค์ปฏิบัติตามพระวจนะของพระองค์
68 พระองค์ประเสริฐ และทรงกระทำการดี
ขอทรงสอนกฎเกณฑ์ของพระองค์แก่ข้าพระองค์
69 คนโอหังป้ายความเท็จใส่ข้าพระองค์
แต่ข้าพระองค์ปฏิบัติตามข้อบังคับของพระองค์ด้วยสุดใจ
70 จิตใจของเขาทั้งหลายต่ำช้าเหมือนไขมัน
แต่ข้าพระองค์ปีติยินดีในพระธรรมของพระองค์
71 ดีแล้วที่ข้าพระองค์ทุกข์ยาก
เพื่อข้าพระองค์จะเรียนรู้ถึงกฎเกณฑ์ของพระองค์
72 สำหรับข้าพระองค์ พระธรรมแห่งพระโอษฐ์ของพระองค์
ก็ดีกว่าทองคำและเงินพันๆแท่ง
92 ถ้าพระธรรมของพระองค์ไม่เป็นที่ปีติยินดีของข้าพระองค์
ข้าพระองค์คงพินาศแล้วในความทุกข์ยากของข้าพระองค์ (สดุดี 119:65-72, 92)

ผู้เขียนสดุดีพบว่าการทนทุกข์เป็นรูปแบบการฝึกวินัยชีวิตจากพระเจ้า ทำให้ต้องใส่ใจและเข้าใกล้พระวจนะมากขึ้น ผู้เขียนสดุดีเองก็ไม่มีข้อยกเว้น อาสาฟกล่าวว่าความทุกข์ดึงท่านให้เข้าใกล้พระเจ้า ขณะที่ความมั่งคั่งทำให้หยิ่งผยองและชั่วร้าย (สดุดี 73) โยบเรียนรู้เรื่องพระเจ้าอย่างมากเมื่อต้องเผชิญความทุกข์ และเหนืออื่นใดท่านเรียนรู้ที่จะวางใจในพระปัญญาและการครอบครองอยู่ของ พระองค์ ผู้เขียนหนังสือฮีบรูบอกเราว่า ความทุกข์เพราะถูกลงวินัยเป็นสิ่งยืนยันว่าเรายังเป็นบุตรของพระเจ้า (ฮีบรู 12:1-13)

พระเจ้าทรงใช้ความทุกข์ของเราเพื่อเกิดผลดีต่อผู้อื่น
ปฐมกาล 41:46-52; 45:7-11; 50:18-21

เราคงจำเรื่องที่พี่ๆของโยเซฟอิจฉาและชิงชังน้องชายเพราะเป็นลูกคนโปรด ของยาโคบได้ จึงขายน้องคนนี้ไปเป็นทาสในอียิปต์ ที่อียิปต์โยเซฟยังต้องเจอกับความทุกข์จากฝีมือคนอื่น ไม่ใช่เพราะท่านทำบาป แต่เป็นเพราะสัตย์ซื่อต่อพระเจ้า เมื่อโยเซฟได้เลื่อนตำแหน่งสูงขึ้นปกครองอียิปต์ ท่านตั้งชื่อบุตรชายที่บ่งถึงพระหัตถ์อันแสนดีของพระเจ้าเหนือชีวิตท่าน (ปฐมกาล 41:46-52) และเมื่อพี่ชายของท่านมาหาซื้อข้าวที่อียิปต์ โยเซฟมีอิสระพอที่จะช่วยพี่ชายอย่างมีเมตตา แม้ตอนแรกดูเหมือนไม่เป็นเช่นนั้น8 เมื่อพี่ๆของโยเซฟสำนึกในบาป ท่านจึงเปิดเผยตัวตน แน่นอนพวกเขาหวาดกลัวมาก คิดว่าโยเซฟจะใช้อำนาจที่มีแก้แค้นในสิ่งที่ทำกับท่านไว้ พวกพี่ๆยังไม่เข้าใจพระประสงค์ดีของพระเจ้าในความทุกข์ยาก แม้เป็น “ความทุกข์ที่ตัวเองไม่ได้ก่อ”ก็ตาม แต่โยเซฟเข้าใจดี :

พระเจ้าทรงใช้เรามาก่อนพี่ เพื่อสงวนคนที่เหลือส่วนหนึ่งบนแผ่นดินไว้ให้พี่ และช่วยชีวิตของพี่ไว้ด้วยการช่วยกู้อันใหญ่หลวง ฉะนั้นมิใช่พี่เป็นผู้ให้เรามาที่นี่ แต่พระเจ้าทรงให้มา พระองค์ทรงโปรดให้เราเป็นเหมือนตัวบิดาฟาโรห์ เป็นเจ้าในราชวังทั้งสิ้น และเป็นผู้ครอบครองประเทศอียิปต์ทั้งหมด รีบไปหาบิดาเราบอกท่านว่า ‘โยเซฟบุตรของท่านพูดดังนี้ว่า พระเจ้าทรงโปรดให้ข้าพเจ้าเป็นเจ้าเหนืออียิปต์ทั้งสิ้น ขอไปหาลูก อย่าได้ช้า พ่อจะได้อาศัยอยู่ในเมืองโกเชน และพ่อจะได้อยู่ใกล้ลูก ทั้งตัวพ่อกับลูกหลาน และฝูงแพะแกะฝูงโค และทรัพย์ทั้งหมดของพ่อ ลูกจะบำรุงรักษาพ่อที่นั่น ด้วยยังจะกันดารอาหารอีกห้าปี มิฉะนั้นพ่อและครอบครัวของพ่อและผู้คนที่พ่อมีอยู่จะยากจนไป’ (ปฐมกาล 45:7-11)

พี่ชายก็พากันมากราบลงต่อหน้าโยเซฟแล้วว่า “ข้าพเจ้าทั้งหลายเป็นผู้รับใช้ของท่าน” โยเซฟจึงบอกเขาว่า “อย่ากลัวเลย เราเป็นดังพระเจ้าหรือ พวกท่านคิดร้ายต่อเราก็จริง แต่ฝ่ายพระเจ้าทรงดำริให้เกิดผลดีอย่างที่บังเกิดขึ้นนี้แล้ว คือช่วยชีวิตคนเป็นอันมาก ดังนั้นพี่อย่ากลัวเลย เราจะบำรุงเลี้ยงพี่ทั้งบุตรด้วย” โยเซฟพูดปลอบโยนพวกพี่น้องดังนี้ทำให้เขาอุ่นใจ (ปฐมกาล 50:18-21)

ดังนั้นการทนทุกข์เพราะเหตุที่ตนเองไม่ได้ก่อ ไม่เพียงแต่เกิดผลดีกับตนเอง แต่ยังเกิดผลดีกับคนอื่นๆด้วย9

ความทุกข์บางอย่างเกิดจากความบาปของผู้อื่น
1ซามูเอล 21:1—22:11-23; 2ซามูเอลl 12:1-23

ใน 1ซามูเอล 21 ดาวิดต้องหนีไปจากกษัตริย์ซาอูลที่จ้องจะตามฆ่า ดาวิดและคนของท่านขาดแคลนอาหารจึงไปที่เมืองโนบ ที่อาหิเมเลคปุโรหิตอาศัยอยู่ อาหิเมเลคสัมผัสได้ว่ามีบางสิ่งผิดปกติเมื่อดาวิดมาหาท่านตามลำพัง ดาวิดหลอกท่านว่ามาราชการลับให้กษัตริย์ซาอูล และต้องไม่ให้ผู้ใดรู้ (21:1-2) ดาวิดขอแบ่งขนมปังจากท่าน และได้รับบางส่วนจากขนมปังบริสุทธิ์ และอาหิเมเลคได้มอบดาบของโกลิอัทให้กับดาวิด ดาบที่ดาวิดยึดมาได้ตอนฆ่าโกลิอัท แต่ที่เกิดขึ้น โดเอกชาวเอโดม คนของกษัตริย์ซาอูลอยู่ที่นั่นพอดี และเห็นเหตุการณ์ ต่อมาโดเอกไปรายงานให้ซาอูลทราบ ผลก็คือซาอูลสั่งฆ่าปุโรหิตหลายคนรวมทั้งครอบครัวพวกเขาด้วย

พระราชาตรัสว่า “อาหิเมเลค เจ้าจะต้องตายแน่ ทั้งเจ้าและพงศ์พันธุ์บิดาของเจ้าด้วย” และพระราชาก็รับสั่งแก่ราชองครักษ์ผู้ยืนเฝ้าอยู่ว่า “จงหันมาประหารปุโรหิตเหล่านี้ของพระเจ้าเสีย เพราะว่ามือของเขาอยู่กับดาวิดด้วย เขารู้แล้วว่ามันหนีไป แต่ไม่แจ้งให้เรารู้” แต่ข้าราชการผู้รับใช้ของพระราชาไม่ยอมลงมือ ทำกับปุโรหิตของพระเจ้า แล้วพระราชาจึงตรัสกับโดเอกว่า “เจ้าจงไปฟันปุโรหิตเหล่านั้น” โดเอกคนเอโดมก็หันไปฟันบรรดาปุโรหิต ในวันนั้น เขาฆ่าบุคคลที่สวมเอโฟดผ้าป่านเสีย แปดสิบห้าคน และเขาประหารชาวเมืองโนบ ซึ่งเป็นเมืองของปุโรหิตเสียด้วยคมดาบ ฆ่าเสียด้วยคมดาบ ทั้งผู้ชาย ผู้หญิง เด็ก และเด็กกินนม โค ลาและแกะ (1ซามูเอล 22:16-19)

เรารู้จากท่าทีที่ดาวิดตอบสนองต่อโศกนาฏกรรมนี้ ท่านรู้สึกรับผิดชอบต่อการตายของพวกปุโรหิตและครอบครัว (1ซามูเอล 22:21-23) ความรู้สึกผิดไม่ได้เกิดจากที่ท่านไปขอปันขนมปังจากอาหิเมเลค เพราะพระเยซูเองยังตรัสว่าทำได้ (ดูมัทธิว 12:3-4) ไม่ชัดเจนว่าที่ดาวิดโกหกเป็นสาเหตุของโศกนาฏกรรมครั้งนี้ แต่ที่แน่ๆคนเหล่านี้ต้องตายลงเพราะความอิจฉาของซาอูล บาปของชายคนหนึ่ง (ซาอูล) และที่ดาวิดพยายามหาอาหารให้คนของท่านนำความตายไปถึงคนอีกมากมาย10

ดาวิดอาจไม่ผิดที่ทำให้พวกปุโรหิตที่เมืองโนบต้องตาย แต่บาปของท่านเป็นเหตุให้บุตรชายของท่านเองต้องตาย (2ซามูเอล 11 และ 12) ขณะที่กองทัพอิสราเอลออกทำสงคราม ดาวิดพักอยู่ที่วังในเยรูซาเล็ม (2ซามูเอล 11:1) ผลก็คือท่านบังเอิญมองลงไปจากดาดฟ้าพระราชวังเห็นสตรีนางหนึ่งกำลังอาบน้ำ จึงให้คนไปสอบถามว่าเป็นใคร ถึงจะรู้ว่าเธอเป็นภรรยาของทหารที่ซื่อสัตย์ในกองทัพของท่าน ดาวิดเรียกเธอมาหาที่วังและหลับนอนกับเธอ แล้วพยายามปกปิดบาปนั้นโดยสั่งให้โยอาบแม่ทัพ ส่งอุรียาห์ไปในพื้นที่ๆการสู้รบดุเดือดที่สุด แล้วละไว้ที่นั่นให้ตาย นาธันมาเผชิญหน้ากับดาวิดเรื่องความบาปของท่าน แจ้งท่านว่าเด็กที่หญิงนั้นตั้งครรภ์เพราะบาปของท่านจะต้องตาย แม้ดาวิดจะสำนึกผิดและวิงวอนขอต่อพระเจ้า พระเจ้าก็นำชีวิตเด็กนั้นไป เด็ก “ไร้เดียงสา” คนนี้ตายเพราะความบาปของดาวิด คนที่ไม่รู้เรื่องด้วยบางครั้งต้องมารับเคราะห์เพราะความบาปของผู้อื่น

บ่อยครั้งความทุกข์ก็เกิดจากหลายสาเหตุมารวมกัน
2 ซามูเอล 24:1-25; 1 พงศาวดาร 21:1-30

ผมขอชี้ให้เห็นสั้นๆว่าไม่เสมอไปที่ความทุกข์เกิดขึ้นเพราะสาเหตุใด สาเหตุหนึ่ง ชีวิตมันไม่ง่ายอย่างนั้น แม้แต่ความบาปด้วย ใน 2ซามูเอล 24 และ 1พงศาวดาร 21 เราอ่านเรื่องภัยพิบัติที่ถูกส่งลงมายังอิสราเอลเพราะดาวิดโง่เขลาไปนับ จำนวนคน ไม่ฟังคำคัดค้านของผู้รับใช้ที่ซื่อสัตย์อย่างโยอาบและผู้บังคับบัญชาในกอง ทัพของท่าน (2ซามูเอล 24:3-4) ในอีกด้าน เราเห็นว่าคนของดาวิดต้องตายลงถึง 70,000 คนเพราะความเขลาของท่าน (2ซามูเอล 24:15) และเห็นจากเรื่องราวใน 1พงศาวดาร 21 (ข้อ 1) ซาตานได้ยืนขึ้นต่อสู้อิสราเอล ดลใจให้ดาวิดนับจำนวนอิสราเอล ดังนั้นซาตานก็มีบทบาทในพิบัติครั้งนี้ด้วย แต่จาก 2ซามูเอล 24:1 เราเรียนรู้ว่าเรื่องราวมันซับซ้อนกว่านั้น :

พระพิโรธของพระเจ้าได้เกิดขึ้นต่ออิสราเอลอีก เพื่อทรงต่อสู้เขาทั้งหลายจึงทรงดลใจดาวิดตรัสว่า” จงไปนับคนอิสราเอลและคนยูดาห์” (2ซามูเอล 24:1)

พระวจนะข้อนี้ เราเห็นว่าพระเจ้าทรงอยู่เบื้องหลังเหตุการณ์ทั้งหมด ซึ่งไม่น่าประหลาดใจสำหรับคริสเตียน แต่ที่เราเรียนรู้คือพระเจ้าทรง “ดลใจ” ดาวิด เพราะพระพิโรธต่ออิสราเอล ดังนั้นคนอิสราเอลไม่ใช่ว่าไม่รู้เรื่อง พวกเขามีความผิด และพระเจ้าลงโทษชนชาตินี้เพราะบาปของพวกเขา ความทุกข์บางทีก็มาจากสาเหตุที่ซับซ้อน ทั้งหมดล้วนแล้วแต่มาจากรากเหง้าความบาปของมนุษย์

มีเพียงบุคคลเดียวที่บริสุทธิ์

เป็นเรื่องสำคัญที่ต้องจำไว้ว่าไม่มีใครเลย ไม่มีสักคน แม้แต่ทารกที่ “บริสุทธิ์” แท้จริง ในแง่ว่าพวกเขาปราศจากบาป ดาวิดกล่าวไว้นานมาแล้ว :

ดูเถิด ข้าพระองค์ถือกำเนิดมาในความผิดบาป
และมารดาตั้งครรภ์ข้าพระองค์ในบาป (สดุดี 51:5)

อ.เปาโลยืนยันในเรื่องนี้โดยอ้างจากพระวจนะในพระคัมภีร์เดิมในโรม 3:10-12 ที่กล่าวว่า:

10“ตามที่พระคัมภีร์มีเขียนไว้ว่า ไม่มีผู้ใดเป็นคนชอบธรรมสักคนเดียว ไม่มีเลย
11 ไม่มีคนที่เข้าใจ ไม่มีคนที่แสวงหาพระเจ้า
12 เขาทุกคนหลงผิดไปหมด เขาทั้งปวงเลวทรามเหมือนกันสิ้น ไม่มีสักคนเดียวที่กระทำดี ไม่มีเลย

บุคคลเดียวที่เกิดมาโดยปราศจากบาป และดำเนินชีวิตอย่างสมบูรณ์แบบ ปราศจากตำหนิ คือองค์พระเยซูคริสต์ของเรา พระองค์เพียงผู้เดียวที่สามารถพูดได้ว่า

มีผู้ใดในพวกท่านหรือ ที่ชี้ให้เห็นว่าเราได้ทำผิด ถ้าเราพูดความจริง ทำไมท่านจึงไม่เชื่อเรา? (ยอห์น 8:46)

พระองค์ผู้เดียวเท่านั้นที่ไร้ความผิด ลูกแกะปราศจากตำหนิของพระเจ้า ที่ได้หลั่งพระโลหิตเพื่อชำระมนุษย์ให้พ้นจากบาปของพวกเขา :

และถ้าท่านอธิษฐานขอต่อพระองค์ เรียกพระองค์ว่า พระบิดาผู้ทรงพิพากษาทุกคนตามการกระทำของเขา โดยไม่มีอคติ จงประพฤติตนด้วยความยำเกรงตลอดเวลาที่ท่านอยู่ในโลกนี้ ท่านรู้ว่าพระองค์ได้ทรงไถ่ท่านทั้งหลายออกจากการประพฤติอันหาสาระมิได้ ซึ่งท่านได้รับต่อจากบรรพบุรุษของท่าน มิใช่ไถ่ไว้ด้วยสิ่งที่เสื่อมสลายได้ เช่นเงินและทอง แต่ทรงไถ่ด้วยพระโลหิตประเสริฐของพระคริสต์ ดังเลือดลูกแกะที่ปราศจากตำหนิหรือจุดด่าง แท้จริงพระเจ้าได้ทรงกำหนดพระคริสต์นั้นไว้ก่อนทรงสร้างโลก แต่ทรงให้พระคริสต์ปรากฏพระองค์ในวาระสุดท้ายนี้ เพื่อท่านทั้งหลาย เพราะพระคริสต์ท่านจึงวางใจในพระเจ้า ผู้ทรงชุบพระคริสต์ให้ฟื้นจากความตาย และทรงประทานพระเกียรติแก่พระองค์ เพื่อให้ความเชื่อและความหวังใจของท่านดำรงอยู่ในพระเจ้า (1เปโตร 1:17-21)

เมื่อพูดถึงผู้บริสุทธิ์ที่ต้องทนทุกข์ เราต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง มีเพียงพระเยซูคริสต์เท่านั้นที่ต้องทนทุกข์ทั้งที่บริสุทธิ์ คนอื่นๆที่ทนทุกข์ก็เป็นเพราะพวกเขาเป็นคนบาป เมื่อเราพูดถึง “ผู้บริสุทธิ์ต้องมารับทุกข์” เรากำลังพูดถึงความทุกข์ที่ไม่ได้เกิดจากบาปโดยตรงของพวกเขา แต่เป็นเหตุเพราะบาปที่คนอื่นกระทำ

คำเล้าโลมใจของเรา :
การลงโทษของพระเจ้านั้นยุติธรรม และพระองค์จะไม่ลงโทษผู้บริสุทธิ์
ปฐมกาล 18:16-33; โยนาห์ 4:1-11

เมื่อพูดถึงคนที่ต้องทนทุกข์โดยไม่รู้เรื่อง เราได้รับคำปลอบประโลมที่ยิ่งใหญ่จากพระวจนะของพระเจ้า ลองมาดูบทสนทนาระหว่างอับราฮัมและพระเจ้า ในเรื่องการลงโทษเหนือโสดมและโกโมราห์ :

แล้วบุรุษเหล่านั้นก็ออกจากที่นั่น เดินไปจนเห็นเมืองโสโดม และอับราฮัมก็ตามไปส่งด้วย พระเจ้าตรัสว่า “ควรหรือที่เราจะซ่อนสิ่งซึ่งเราจะกระทำนั้นมิให้อับราฮัมรู้ เพราะอับราฮัมจะเป็นประชาชาติใหญ่โตและมีกำลังมาก และประชาชาติทั้งหลายในโลกจะได้รับพรก็เพราะท่าน เพราะเราเลือกเขาแล้ว เพื่อเขาจะได้กำชับลูกหลาน และครอบครัวที่สืบมา ให้รักษาพระมรรคาของพระเจ้า โดยทำความชอบธรรมและความยุติธรรม เพื่อว่าพระเจ้าจะได้ประทานสิ่ง ซึ่งพระองค์ทรงสัญญาไว้แล้วให้แก่อับราฮัม” พระเจ้าได้ตรัสว่า “เสียงร้องกล่าวโทษเมืองโสโดมและเมืองโกโมราห์ นั้นดังเหลือเกิน และบาปของเขาก็หนักมาก เราจะลงไปดูว่า พวกเขากระทำผิดจริงตามคำร้องทุกข์ที่มาถึงเรานั้นหรือไม่ ถ้าไม่เราก็จะรู้” บุรุษเหล่านั้นจึงออกจากที่นั่นเดินตรงไปยังเมืองโสโดม แต่อับราฮัมยังยืนเฝ้าพระเจ้าอยู่ อับราฮัมได้เข้ามาใกล้ กราบทูลว่า “พระองค์จะทรงทำลายผู้ชอบธรรมพร้อมกับคนอธรรมหรือ สมมุติว่ามีคนชอบธรรมห้าสิบคนอยู่ในเมืองนั้น พระองค์จะยังทรงทำลายเมืองนั้นไม่ยับยั้งอาชญา เพราะเห็นแก่คนชอบธรรมห้าสิบคนที่อยู่ในเมืองนั้นหรือ ขอพระองค์อย่าคิดที่จะกระทำเช่นนั้นเลย อย่าคิดที่จะฆ่าคนชอบธรรมพร้อมกับคนอธรรม ทำกับคนชอบธรรมอย่างเดียวกับคนอธรรม ขอพระองค์อย่าทรงทำเช่นนั้นเลย พระองค์ผู้พิพากษาสากลโลกจะไม่กระทำสิ่งที่ยุติธรรมหรือ” พระเจ้าตรัสว่า “ที่โสโดมถ้าเราพบคนชอบธรรมในเมืองห้าสิบคนเราจะ ไม่ลงอาชญาในเมืองนั้นทั้งเมืองเพราะเห็นแก่เขา” อับราฮัมทูลตอบว่า “ขอประทานโทษ ที่ข้าพระองค์บังอาจกราบทูลต่อพระเจ้า ข้าพระองค์ผู้เป็นเพียงผงคลีและขี้เถ้า สมมุติว่าในห้าสิบคนนั้นขาดไปห้าคน พระองค์จะยังทรงทำลายเมืองนั้นทั้ง เมืองเพราะขาดห้าคนหรือ” และพระองค์ตรัสว่า “เราจะไม่ทำลาย ถ้าเราพบคนชอบธรรมสี่สิบห้าคนที่นั่น” ท่านก็ทูลพระองค์อีกว่า “สมมุติว่าพระองค์ทรงพบสี่สิบคนที่นั่น” พระองค์ตรัสตอบว่า “เพราะเห็นแก่สี่สิบคนเราจะไม่กระทำ” ท่านจึงทูลว่า “ขอองค์พระผู้เป็นเจ้าอย่าทรงพระพิโรธเลย ข้าพระองค์จะขอกราบทูล สมมุติพระองค์ทรงพบเพียงสามสิบคนที่นั่น” พระองค์ตรัสตอบว่า “เราจะไม่ลงอาชญา ถ้าเราพบสามสิบที่นั่น” ท่านทูลว่า “ขอประทานโทษที่ข้าพระองค์บังอาจกราบทูล ต่อองค์พระผู้เป็นเจ้า สมมุติว่าทรงพบเพียงยี่สิบคนที่นั่น” พระองค์ตรัสตอบว่า “เพราะเห็นแก่ยี่สิบคน เราจะไม่ทำลายเมืองนั้น” ท่านทูลว่า “ขอองค์พระผู้เป็นเจ้าอย่าทรงพระพิโรธเลย ข้าพระองค์ขอกราบทูลอีกครั้งนี้ครั้งเดียว สมมุติว่า ทรงพบเพียงสิบคนที่นั่น” พระองค์ตรัสตอบว่า “เพราะเห็นแก่สิบคนเราจะไม่ทำลายเมืองนั้น” เมื่อพระองค์ตรัสกับอับราฮัมจบลงแล้ว พระเจ้าก็เสด็จไป ส่วนอับราฮัมก็กลับไปบ้าน (ปฐมกาล18:16-33)

พระเจ้ากำลังจะลงโทษเมืองโสดมและโกโมราห์ แต่พระองค์ต้องการแบ่งปันเรื่องนี้กับอับราฮัม เมื่อได้ยินว่าเมืองนี้กำลังจะถูกทำลาย อับราฮัมเป็นห่วงว่าคนบริสุทธิ์จะถูกทำลายไปพร้อมกับคนชั่ว จึงโต้แย้งว่าพระเจ้าของท่านจะทำในสิ่งที่ยุติธรรม คือไม่ปฏิบัติในแบบเดียวกันกับทั้งคนชั่วและคนดี (18:23-25) ในตอนจบ ท่านต่อรองว่าถ้ามีคนชอบธรรมสักสิบคนที่ในเมืองนั้น พระเจ้าจะไม่ลงโทษ ที่เรารู้ แน่นอน สิบคนก็ยังไม่มี กระนั้นพระเจ้าก็ยังทรงไว้ซึ่งพระลักษณะของพระองค์ ก่อนส่งไฟลงไปเผาเมืองชั่วร้ายนั้น พระองค์ทรงให้โลทและครอบครัวอพยพออกมา (ปฐมกาล 19:12-26) พระเจ้าของเรายุติธรรม และพระองค์ไม่ได้ลงโทษคนชอบธรรมไปพร้อมๆกับคนอธรรม

ความจริงเดียวกันนี้11 เป็นบทเรียนอยู่ในหนังสือโยนาห์บทที่สี่ด้วย :

เมื่อพระเจ้าทอดพระเนตรการกระทำของเขา แล้วว่า เขากลับไม่ประพฤติชั่วต่อไป พระเจ้าก็ทรงกลับพระทัย ไม่ลงโทษ ตามที่พระองค์ตรัสไว้ และพระองค์ก็มิได้ทรงลงโทษเขา เหตุการณ์นี้ไม่เป็นที่พอใจโยนาห์อย่างยิ่ง และท่านโกรธ ท่านจึงอธิษฐานต่อพระเจ้าว่า “ข้าแต่พระเจ้า เมื่อข้าพระองค์ยังอยู่ในประเทศของข้าพระองค์ ข้าพระองค์พูดแล้วว่าจะเป็นไปเช่นนี้มิใช่หรือ นี่แหละเป็นเหตุให้ข้าพระองค์ได้รีบหนีไปยังเมืองทารชิช เพราะข้าพระองค์ทราบว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าผู้ทรงกอปรด้วยพระคุณ และทรงพระกรุณา ทรงกริ้วช้า และบริบูรณ์ด้วยความรัก มั่นคง และทรงกลับพระทัยไม่ลงโทษ ข้าแต่พระเจ้า เพราะฉะนั้น บัดนี้ ขอพระองค์ทรงเอาชีวิตของข้าพระองค์ไปเสีย เพราะว่าข้าพระองค์ตายเสียก็ดีกว่าอยู่” ละพระเจ้าตรัสว่า “การที่เจ้าโกรธเช่นนี้ดีอยู่หรือ” แล้วโยนาห์ก็ออกไปนอกนคร นั่งอยู่ทางทิศตะวันออกของเมืองนั้น และท่านทำเพิงไว้เป็นที่ท่านอาศัย ท่านนั่งอยู่ใต้ร่มเพิงคอยดูเหตุการณ์อันจะเกิดขึ้นกับนครนั้น และพระเจ้าทรงกำหนดให้ต้นละหุ่งต้นหนึ่ง งอกขึ้นมาเหนือโยนาห์ ให้เป็นที่กำบังศีรษะของท่าน เพื่อให้บรรเทาความร้อนรุ่มกลุ้มใจในเรื่องนี้ เพราะเหตุต้นละหุ่งต้นนี้โยนาห์จึงมีความยินดียิ่งนัก แต่ในเวลาเช้าวันรุ่งขึ้น พระเจ้าทรงกำหนดให้หนอนตัวหนึ่งมากัดกินต้นละหุ่งต้นนั้น จนมันเหี่ยวไป เมื่อดวงอาทิตย์ขึ้นแล้ว พระเจ้าทรงกำหนดให้ลมตะวันออกที่ร้อนผากพัดมา และแสงแดดก็แผดลงบนศีรษะของโยนาห์จนท่าน อ่อนเพลียไปและท่านก็ทูลขอว่า ให้ท่านตายเสียเถิด ท่านว่า “ข้าตายเสียก็ดีกว่าอยู่” แต่พระเจ้าตรัสกับโยนาห์ว่า “ที่เจ้าโกรธเพราะต้นละหุ่งนั้นดีอยู่แล้วหรือ” ท่านทูลว่า “ที่ข้าพระองค์โกรธถึงอยากตายนี้ดีแล้ว พระเจ้าข้า” และพระเจ้าตรัสว่า “เจ้าหวงต้นไม้ซึ่งเจ้ามิได้ลงแรงปลูก หรือมิได้กระทำให้มันเจริญ มันงอกเจริญขึ้นในคืนเดียว แล้วก็ตายไปในคืนเดียวดุจกัน ไม่สมควรหรือที่เราจะหวงเมืองนีนะเวห์นครใหญ่นั้น ซึ่งมีพลเมืองมากกว่าหนึ่งแสนสองหมื่นคน ผู้ไม่ทราบว่าข้างไหนมือขวาข้างไหนมือซ้าย และมีสัตว์เลี้ยงเป็นอันมากด้วย” (โยนาห์ 3:10 – 4:11)

เมื่อประชากรนีนะเวห์กลับใจ พระเจ้าก็ยับยั้ง และโยนาห์ไม่พอใจ ท่านแทบคลั่ง สิ่งที่คนอื่นสรรเสริญพระเจ้า (ข้า พระองค์ทราบว่า พระองค์ทรงเป็นพระเจ้าผู้ทรงกอปรด้วยพระคุณ และทรงพระกรุณา ทรงกริ้วช้า และบริบูรณ์ด้วยความรักมั่นคง และทรงกลับพระทัยไม่ลงโทษ – ข้อ 2 ด้านบน)12 โยนาห์กลับประท้วง ท่านเกลียดชังพระคุณ13ไม่ สังเกตเลยว่านี่คือสิ่งเดียวที่ทำให้ท่านยังมีชีวิตอยู่ โยนาห์ต้องการเห็นคนบาปพวกนี้ชดใช้ ต้องการนั่งดูพระอาชญาที่จะเทลงเหนือพวกเขา แม้จะสำนึกผิดแล้วก็ตาม โยนาห์มองไม่เห็นเงาของร่มไม้ที่พระเจ้าประทานให้เป็นของขวัญแห่งพระคุณ มัวแต่โกรธเคืองเพราะถูกเอาคืนไป ราวกับว่าเป็นสิ่งที่ท่านสมควรได้รับ

ความบาปของโยนาห์ยิ่งแย่หนักเมื่อโยงเข้ากับเด็กๆในนีนะเวห์ ท่านต้องการเห็น (จากคำพูดของอับราฮัม) พระเจ้ากวาดคนชอบธรรมไปพร้อมกับคนอธรรม” 14

ความยุติธรรมของพระเจ้าปรากฎชัดเมื่อเทียบกับความโกรธที่โยนาห์คิดว่าตน เองชอบธรรม ไม่สนใจแม้พวกเขาจะกลับใจ แค่อยากเห็นพวกเขาพินาศ พระเจ้าไม่เพียงแต่ปิติที่ได้ช่วยคนบาปให้กลับใจ พระองค์ทรงห่วงใยเด็กที่ไร้เดียงสา และจะไม่ลงโทษพวกเขาแม้พ่อแม่พวกเขาจะชั่วร้ายก็ตาม

ความรอดของพระเจ้า และทารกที่ถูกสังหาร
มัทธิว 2:13-18; เยเรมีย์ 31:15

สิ่งที่พระเจ้าตรัสกับโยนาห์ทำให้เราเกิดปัญหากับพระกิตติคุณมัทธิว 2 ข้อ 13-18 ที่กำลังเรียนกัน:

ครั้นเขาไปแล้วก็มีทูตองค์หนึ่งของพระ เป็นเจ้า ได้มาปรากฏแก่โยเซฟในความฝันแล้วบอกว่า “จงลุกขึ้นพากุมารกับมารดาหนีไปประเทศอียิปต์ และคอยอยู่ที่นั่นจนกว่าเราจะบอกเจ้า เพราะว่าเฮโรดจะแสวงหากุมาร เพื่อจะประหารชีวิตเสีย” ในเวลากลางคืนโยเซฟจึงลุกขึ้น พากุมารกับมารดาไปยังประเทศอียิปต์ และได้อยู่ที่นั่นจนเฮโรดสิ้นพระชนม์ ทั้งนี้เกิดขึ้นเพื่อจะให้สำเร็จตามพระวจนะของพระเป็นเจ้า ซึ่งได้ตรัสไว้โดยผู้เผยพระวจนะว่า เราได้เรียกบุตรของเราให้ออกมาจากอียิปต์ ครั้นเฮโรดเห็นว่าพวกโหราจารย์หลอกท่าน ก็กริ้วโกรธยิ่งนัก จึงใช้คนไปฆ่าเด็กผู้ชายทั้งหลาย ในบ้านเบธเลเฮมและที่ใกล้เคียงทั้งสิ้น ตั้งแต่อายุสองขวบลงมา ซึ่งพอดีกับเวลาที่ท่านได้ทราบจากพวกโหราจารย์นั้น ครั้งนั้นก็สำเร็จตามพระวจนะที่ตรัสโดยเยเรมีย์ผู้เผยพระวจนะว่า ได้ ยินเสียงในหมู่บ้านรามาห์ เป็นเสียงโอดครวญและร่ำไห้ คือนางราเชลร้องไห้คร่ำครวญ เพราะบุตรทั้งหลายของตน นางไม่รับฟังคำปลอบเล้าโลม เพราะบุตรทั้งหลายนั้นไม่มีแล้ว (มัทธิว 2:13-18)

พวกโหราจารย์ได้รับคำสั่งจากพระเจ้าให้เดินทางกลับเส้นทางอื่น พวกเขาเชื่อฟัง (2:12) แล้วพระองค์สั่งโยเซฟให้พาพระกุมารและนางมารีย์ไปลี้ภัยที่ในอียิปต์ เพราะเฮโรดกำลังหาทางฆ่าพระกุมาร โยเซฟเชื่อฟัง เมื่อเฮโรดรู้ว่าแผนสังหารทารกที่จะเป็นกษัตริย์ล้มเหลว ก็โกรธเคืองมาก จากข้อมูลที่ดาวมาปรากฎแก่โหราจารย์ และสถานที่กำเนิดตามคำพยากรณ์ที่นักศาสนาบอก เฮโรดพอรู้อายุและที่อยู่ของพระกุมาร แม้จะไม่ได้เห็นตัวจริง แต่พอรู้ว่าไม่น่าถึงสองขวบ เฮโรดคิดว่าเอาตัวเลขกลมๆนี้มาเป็นตัวตั้ง สังหารทารกทั้งหมดในเขตเบธเลเฮม ทารกชายอายุต่ำกว่าสองขวบทั้งหมดในเบธเลเฮมจึงถูกฆ่าตาย

จำนวนทารกที่ตายตามที่คาดเดาอาจดูเยอะเกินจริง โดยทั่วไปคิดว่าไม่น่าเกิน 20 หรือ 30 แต่ก็ไม่ได้ทำให้ความผิดของเฮโรด หรือความทุกข์ระทมของพ่อแม่ลดลง อาจมีคำถามว่าทำไมมัทธิวเลือกที่จะบันทึกรายละเอียดการฆ่าทารก แต่ไม่บันทึกรายละเอียดการตายของเฮโรด คนอ่านอาจรู้สึกไม่พอใจที่ทารกโดนสังหารอย่างไม่เป็นธรรม อยากรู้ว่าเกิดอะไรขึ้นกับเฮโรดหลังสิ่งโหดเหี้ยมที่เขาทำ ให้มาดูว่าพระกิตติคุณมัทธิวตอนนี้ให้บทเรียนอะไรกับเรา?

ประการแรก – เรื่องการสังหารทารกที่บริสุทธิ์ดูเหมือนเมฆทะมึนที่จู่ๆก็มาปกคลุมความชื่นชมยินดีในการประสูติของพระเยซูคริสต์ อย่าลืมว่าพระเยซูเสด็จมาเพื่อตายบนไม้กางเขนในเงื้อมมือของชาวยิวที่ไม่เชื่อและคนต่างชาติ และเราได้พบพระนามพระเยซูในมัทธิว 1:

“เธอจะประสูติบุตรชาย แล้วเจ้าจงเรียกนามท่านว่า เยซู เพราะว่าท่านเป็นผู้ที่จะโปรดช่วยชนชาติของท่านให้รอดจากความผิดบาปของเขา” (มัทธิว 1:21)

วิธีที่พระเยซูจะมา “โปรดช่วยชนชาติของท่านให้รอดจากความผิดบาป” คือยอมสละพระชนม์อย่างผู้บริสุทธิ์บนกางเขนที่เนินหัวกระโหลก การประสูติของพระเยซูเป็นเหตุการณ์ที่ชื่นชมยินดี เหมือนข้อความในบัตรอวยพรวันคริสตมาส แต่เป็นการประสูติของพระผู้ช่วยให้รอดที่ต้องไปสิ้นพระชนม์ในเยรูซาเล็ม มัทธิวจึงเตรียมปูพื้นให้ผู้อ่านแต่เนิ่นๆ ประชาชนและผู้ปกครองในเยรูซาเล็มต่างวุ่นวายใจเมื่อได้ยินคำว่า “กษัตริย์ของชาวยิว” มาบังเกิดในเบธเลเฮม

เราอาจจะเปรียบเทียบเรื่องต้นกำเนิดของพระเยซูในมัทธิวและในลูกาได้ ผู้เขียนแต่ละท่านเลือกสถานการณ์ เหตุการณ์ และผู้คนที่แตกต่างกัน แต่ทั้งคู่เตรียมผู้อ่านให้ตระหนักถึงความจริงว่าผู้ที่มาประสูติในเบธเลเฮม มาสละพระชนม์เพื่อความบาปของประชากรของพระองค์ มัทธิวเตรียมเราไว้ก่อนโดยบันทึกเรื่องเด็กบริสุทธิ์ถูกสังหาร ลูกาทำผ่านถ้อยคำที่สิเมโอนพูดกับนางมารีย์ :

แล้วสิเมโอนก็อวยพรแก่เขา แล้วกล่าวแก่นางมารีย์มารดาพระกุมารนั้นว่า “ดูก่อน ท่านทรงตั้งพระกุมารนี้ไว้ เป็นเหตุให้หลายคนในพวกอิสราเอลล้มลงหรือยกตั้งขึ้น และจะเป็นหมายสำคัญซึ่งคนปฏิเสธ เพื่อความคิดในใจของคนเป็นอันมากจะได้ปรากฏแจ้ง ถึงหัวใจของท่านเองก็ยังจะถูกดาบแทงทะลุด้วย” (ลูกา 2:34-35)

ถ้าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นตอนพระเยซูบังเกิดเล็งถึงเหตุการณ์อื่นๆในชีวิต ที่จะเกิดขึ้นจนถึงวันสิ้นพระชนม์ เหตุการณ์ช่วงการบังเกิดควรมีการเตือนล่วงหน้าว่าพระองค์จะต้องสิ้นพระชนม์

ยังมีอีกมิติหนึ่งเรื่องทารกถูกสังหาร ผมเชื่อว่าน่าจะนำมาพิจารณา บางคนคิดว่ามันไกลเกินเอื้อม แต่ผมไม่ใช่คนเดียวที่ยื่นไปแตะมิตินี้ ผมถามตัวเองด้วยคำถามง่ายๆ : อะไรคือเหตุผลที่เฮโรดต้องฆ่าทารกเพศชาย? คำตอบที่ผมคิดว่าง่ายและชัดเจนคือ เฮโรดสังหารทารกพวกนี้เพราะอยู่ในข่ายว่าน่าจะเป็นพระเยซู เฮโรดไม่ได้สั่งฆ่าเด็กผู้หญิงอายุต่ำกว่าสิบสองในเยรูซาเล็ม ฆ่าเฉพาะทารกชายอายุต่ำกว่าสองในเขตเบธเลเฮม ทำไมครับ? เพราะเฮโรดต้องการฆ่าพระเยซูผู้จะมาเป็น “กษัตริย์ของชาวยิว” เฮโรดสั่งฆ่าเฉพาะทารกที่เกิดตามคำพยากรณ์ที่เล็งถึงพระเมสซิยาห์ และคะเนอายุตามที่พวกโหราจารย์บอกเมื่อเห็นดวงดาว ในอีกแง่ ทารกพวกนี้คือคนกลุ่มแรกที่พลีชีพเพื่อพระคริสต์

เราต้องตั้งคำถาม : อะไรทำให้มัทธิวพยายามเชื่อมโยงการสังหารทารกเข้ากับเยเรมีย์ 31:15? ผมขอเริ่มจากตั้งข้อสังเกตพระวจนะตอนที่มัทธิวอ้างในเยเรมีย์ 31

(1) บริบทของเยเรมีย์ 31 คือการตกไปเป็นเชลยของอิสราเอล การกลับสู่มาตุภูมิ และกลับสู่สภาพดี โดยเฉพาะพระเจ้าให้ความมั่นใจกับอาณาจักรเหนือของอิสราเอลว่าจะทำให้คืนสู่ สภาพดีเมื่อเป็นไทจากอัสซีเรีย ลองมาดูข้อคิดเห็นจากหนังสือ Bible Knowledge Commentary ข้อ 2-6:

พระเจ้าให้คำมั่นว่าจะฟื้นฟูอาณาจักรเหนือ คนที่รอดตายจากดาบ(ที่อาจถูกอัสซีเรียทำลาย) จะได้ลิ้มรสความโปรดปรานของพระเจ้า เมื่อพระองค์นำเขาเข้าไปในถิ่นทุรกันดาร เหมือนเป็นการอพยพครั้งใหม่ 16:14-15; 23:7-8; โฮเชยา 2:14-15 ความวุ่นวายในหลายปีที่ตกเป็นเชลยจะหมดไปเมื่อพระเจ้าเข้ามาแทรกแซง และทำให้ชนชาติอิสราเอลได้หยุดพัก 15

ต่อไปมาดูข้อคิดเห็นจาก Bible Knowledge Commentary ข้อ 7-9:

เมื่อพระเจ้านำประชากรที่อพยพครั้งใหม่กลับสู่อิสราเอล พระองค์จัดเตรียมทุกสิ่งที่จำเป็นให้พวกเขา จะนำพวกเขาเดินข้างลำธารน้ำ (เทียบกับ อพยพ 15:22-25; กันดารวิถี 20:2-13; สดุดี 23:2) จะได้เดินในทางราบซึ่งไม่สะดุด พระองค์ทำทั้งหมดนี้เพราะความสัมพันธ์พิเศษที่มีต่ออิสราเอล ทรงเป็นพระบิดาของชนชาตินี้ (ดูเฉลยธรรมบัญญัติ 32:6) เอฟราอิม (เน้นถึงชนเผ่าเหนือของอิสราเอล) เป็นเหมือนบุตรหัวปี (ดูอพยพ 4:22) เยเรมีย์ใช้ภาพความสัมพันธ์ระหว่างบิดาและบุตรเพื่อให้เห็นถึงความรักลึก ซึ้งที่พระเจ้ามีต่อประชากรของพระองค์ (ดูโฮเชยา 11:1, 8)16

การ “ตกไปเป็นเชลย” คงจะรวมถึงตกเป็นเชลยของบาบิโลนในเวลาต่อมาด้วย รามาห์ ตามที่บันทึกไว้เป็นจุดรวมพลประชากรยูดาห์ก่อนถูกส่งไปเป็นเชลยที่บาบิโลน :

เยเรมีย์จึงให้ภาพการร้องไห้คร่ำครวญของพวกผู้หญิงในอาณาจักรเหนือขณะ เห็นลูกๆถูกอุ้มไปเป็นเชลยในปี 722 ก.ค.ศ. อย่างไรก็ตาม เยเรมีย์อาจหมายถึงการส่งคนยูดาห์ไปเป็นเชลยในปี 586 ก.ค.ศ. ในแง่ที่รามาห์เป็นจุดรวมพลเพื่อให้เนบูคัดเนสซาร์จับส่งไปเป็นเชลย (ดู 40:1)17

(2) อารมณ์ของบทนี้มีแต่การเฉลิมฉลองด้วยความยินดี เพราะพระเจ้าจะนำประชากรของพระองค์กลับสู่มาตุภูมิ และฟื้นฟูสู่สภาพดี เทพระพรลงมาเหนือพวกเขา ในแง่นี้ คนที่ร้องไห้คร่ำครวญจะไม่ร้องอีกต่อไป

10 “บรรดาประชาชาติเอ๋ย จงฟังพระวจนะของพระเจ้า
และจงประกาศพระวจนะนั้น ในแผ่นดินชายทะเลที่ห่างออกไป
จงกล่าวว่า ‘ท่านที่กระจายอิสราเอลนั้นจะรวบรวมเขา และจะดูแลเขาอย่างกับผู้เลี้ยงแกะดูแลฝูงแกะของเขา’

11 เพราะพระเจ้าทรงไถ่ยาโคบไว้แล้ว
และได้ไถ่มาจากมือที่แข็งแรงเกินกว่าเขา

12 เขาทั้งหลายจะมาร้องเพลงอยู่บนที่สูงแห่งศิโยน
และเขาจะปลาบปลื้มเพราะของดีของพระเจ้า
เพราะเมล็ดข้าว เหล้าองุ่นและน้ำมันและเพราะลูกของแกะและโค
ชีวิตของเขาทั้งหลายจะเหมือนกับสวนที่มีน้ำรด และเขาจะไม่อ่อนระทวยอีกต่อไป

13 แล้วพวกพรหมจารีจะเปรมปรีดิ์ในการเต้นรำ
และคนหนุ่มกับคนแก่จะรื่นเริง เราจะกลับความโศกเศร้าของเขาให้เป็นความชื่นบาน
เราจะปลอบโยนเขาและให้ความยินดีแก่เขาแทนการไว้ทุกข์ (เยเรมีย์ 31:10-13)

(3) สถานที่ๆพูดถึงในเยเรมีย์ 31:15 คือรามาห์ และบุคคลที่พูดถึงคือราเชลที่ร่ำไห้เพราะบุตรของเธอ ทำให้นึกถึงการตายของราเชลในปฐมกาล 35:16-19 ราเชลมีปัญหาขณะคลอดบุตรชาย เธอตั้งชื่อเขาว่าเบนโอนี “บุตรแห่งความโศกเศร้า” แล้วเปลี่ยนเป็นเบนยามิน (บุตรแห่งมือขวาของเรา) ก็ถือกำเนิดมา แต่ราเชลตายหลังคลอด ราเชลเป็นมารดาของโยเซฟ (ผู้เป็นบิดาของเอฟราอิมและมนัสเสห์) และเบนยามิน เธอถูกเรียกว่าเป็น “มารดาของอิสราเอล” เธอใกล้ชิดและผูกพันกับอาณาจักรตอนเหนือของอิสราเอลมาก จึงเป็นการง่ายที่จะอธิบายการคร่ำครวญของแม่ๆในอาณาจักรเหนือว่าเป็น “นางราเชลร้องไห้คร่ำครวญเพราะบุตรทั้งหลายของตน” เมื่อถูกอัสซีเรียจับไปเป็นเชลย ถ้อยคำเดียวกันนี้สามารถนำมาอธิบายถึงแม่ๆในอาณาจักรใต้ที่คร่ำครวญเมื่อ เห็นบุตรถูกนำตัวไปต่อหน้าต่อตา

(4) บริบทของเยเรมีย์ 31 ยังเป็น “พันธสัญญาใหม่” ด้วย:

“พระเจ้าตรัสว่า ดูเถิด วันเวลาจะมาถึง เมื่อเราจะหว่านพืชคนและพืชสัตว์ในประชา อิสราเอลและประชายูดาห์ และจะเป็นไปอย่างนี้ คือเมื่อเราเฝ้าดูเขา เพื่อจะถอนออกและพังลงคว่ำเสีย ทำลาย และนำเหตุร้ายมาฉันใด เราจะเฝ้าดูเหนือเขาเพื่อจะสร้างขึ้นและปลูกฝังฉันนั้น พระเจ้าตรัสดังนี้แหละ ในสมัยนั้น เขาจะไม่กล่าวต่อไปอีกว่า ‘บิดารับประทานองุ่นเปรี้ยวและบุตรก็เข็ดฟัน’ แต่ทุกคนจะต้องตายเพราะบาปของตนเอง มนุษย์ทุกคนที่รับประทานองุ่นเปรี้ยว ก็จะเข็ดฟัน “พระเจ้าตรัสว่า ดูเถิด วันเวลาจะมาถึง ซึ่งเราจะทำพันธสัญญาใหม่กับประชาอิสราเอลและประชายูดาห์ ไม่เหมือนกับพันธสัญญาซึ่งเราได้กระทำกับ บรรพบุรุษของเขาทั้งหลาย เมื่อเราจูงมือเขาเพื่อนำเขาออกมาจากแผ่นดินอียิปต์ เป็นพันธสัญญาของเราซึ่งเขาผิด ถึงแม้ว่าเราได้เป็นสามีของเขา พระเจ้าตรัสดังนี้แหละ แต่นี่จะเป็นพันธสัญญาซึ่งเราจะกระทำกับ ประชาอิสราเอลภายหลังสมัยนั้น พระเจ้าตรัสดังนี้แหละ เราจะบรรจุพระธรรมไว้ในเขาทั้งหลาย และเราจะจารึกมันไว้บนดวงใจของเขาทั้งหลาย และเราจะเป็นพระเจ้าของเขา และเขาจะเป็นประชากรของเรา และทุกคนจะไม่สอนเพื่อนบ้านของตน และพี่น้องของตนแต่ละคนอีกว่า ‘จงรู้จักพระเจ้า’ เพราะเขาทั้งหลายจะรู้จักเราหมดตั้งแต่คน เล็กน้อยที่สุดถึงคนใหญ่โตที่สุด พระเจ้าตรัสดังนี้แหละ เพราะเราจะให้อภัยบาปชั่วของเขา และจะไม่จดจำบาปของเขา ทั้งหลายอีกต่อไป” (เยเรมีย์ 31:27-34)

ผมพบว่าเยเรมีย์พยายามอธิบายถึงความสำคัญจากผลที่เกิดในพันธสัญญาใหม่ใน ข้อ 29 และ 30 ประเด็นของท่านคือเมื่ออยู่ภายใต้พันธสัญญาเดิม เด็กจะต้องรับผลจากโทษบาปของพ่อแม่ ซึ่งจะไม่เป็นเช่นนั้นในพันธสัญญาใหม่ ถ้ามาพิจารณาพระคำในเยเรมีย์ 31:15 ให้ใกล้ๆ ผมพบว่ามันยากที่จะพูดว่าทารกบริสุทธิ์ที่ตายลงในเบธเลเฮมเป็นเพราะบาปของ พ่อแม่ และจากที่เราเรียนมาในตอนต้น ก็ยังยากที่จะสรุปว่าที่ทารกเหล่านี้ตายเพราะอยู่ภายการตัดสินของพระเจ้า ซึ่งแตกต่างจากกรณีของเฮโรด ที่ตายในมัทธิวบทที่ 2

แล้วเราจะเชื่อมรอยต่อนี้ได้อย่างไร? ผมเชื่อว่ามัทธิวกำลังบอกเราว่าพระเยซูคืออิสราเอลใหม่ และพระองค์เชื่อมต่อกับโมเสสผู้ถูกฟาโรห์ตามล่าชีวิตด้วย แต่พระเจ้าทรงช่วยไว้ พระเยซูเช่นเดียวกับดาวิด ถูกกษัตริย์ขี้อิจฉาตามล่าเพราะเป็นภัยคุกคามต่อราชบัลลังก์ พระองค์ทรงเป็นทุกสิ่งที่อิสราเอลทำไม่สำเร็จ ดังนั้นการเดินทางไปอียิปต์และกลับมาจึงเป็นเหมือนย้อนรอยอพยพตามที่โฮเชยา พูดถึงในโฮเชยา 11:1

การเดินทางไปอียิปต์และกลับมาของพระเยซูคือภาพอิสราเอลที่ตกไปเป็นเชลย (ทั้งเชลยอัสซีเรียของอาณาจักรเหนือ และเชลยบาบิโลนของอาณาจักรใต้) มัทธิวจึงโยงการร้องไห้คร่ำครวญของราเชลที่บุตรถูกอุ้มไป แม้จะโอดครวญเพราะคิดว่าพวกเขาจะไม่ได้กลับมาอีกแล้ว แต่พระเจ้าสัญญาว่าพวกเขาจะได้กลับมา รับการฟื้นฟูและรับพระพร สิ่งนี้เป็นนัยบอกเราหรือไม่ว่าการคร่ำครวญของแม่ (และพ่อด้วย) ที่ในเบธเลเฮม ที่ลูกถูกฆ่าจะเป็นเวลาเพียงสั้นๆด้วย? และทั้งหมดนี้เป็นเพราะพระเยซูผู้เป็นอิสราเอลใหม่ ขณะที่ทารกพวกนี้ตายเป็นหนึ่งเดียวกันกับพระคริสต์ ผมเชื่อว่าเมื่อถึงเวลา พวกเขาจะฟื้นขึ้นมาเป็นหนึ่งเดียวกันกับพระองค์ และจะกลับมาด้วยสง่าราศี18 เฮโรดตายโดยต่อต้าน “กษัตริย์ของชาวยิว” ทารกพวกนี้ตายโดยแสดงความเป็นหนึ่งเดียวกันกับ “กษัตริย์ของชาวยิว” ปลายทางช่างแตกต่างกันสิ้นดี

ข้อคิดสุดท้ายเรื่องการทนทุกข์จาก โรม 8

ในบทเรียนนี้ เราได้เห็นว่ามีหลายสาเหตุที่ทำให้มนุษย์ต้องเผชิญความทุกข์ และมีผลหลายแบบ ขณะที่เราอยากได้คำตอบง่ายๆในเรื่องความทุกข์ (คำตอบแบบที่พวกสาวกอยากได้ในยอห์น 9 หรือจากเพื่อนๆของโยบ) แต่คำตอบแบบนั้นหาไม่ได้ เป็นเวลาหลายปีกว่าชายตาบอดแต่กำเนิดจะรู้สาเหตุของความทุกข์ที่เขาเผชิญ และเชื่อว่าเขาคิดว่ามันคุ้มค่า โยบไม่ได้รับคำตอบจากความทุกข์ของท่าน ท่านแค่ถูกเตือนว่าพระเจ้าคือผู้ใด แค่นั้นก็เพียงพอ ขณะที่ยังหาคำตอบง่ายๆสำหรับคำถามเรื่องความทุกข์ไม่ได้ แต่มีความมั่นใจบางประการที่ทำให้เราอดทนได้ในความเชื่อ เพื่อจะสรุปเรื่องความมั่นใจนี้ ผมขอให้เรากลับไปที่โรม 8

(1) การทนทุกข์เป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ในชีวิตมนุษย์ (โรม 8:18-25) ใน 1โครินธ์ 10 ตามที่ อ.เปาโลเขียน:

ไม่มีการทดลองใดๆเกิดขึ้นกับท่าน นอกเหนือจากการทดลองซึ่งเคยเกิดกับมนุษย์ทั้งหลาย พระเจ้าทรงสัตย์ธรรม พระองค์จะไม่ทรงให้ท่านต้องถูกทดลองเกินกว่าที่ท่านจะทนได้ และเมื่อท่านถูกทดลองนั้น พระองค์จะทรงโปรดให้ท่านมีทางที่จะหลีกเลี่ยงได้ด้วย เพื่อท่านจะมีกำลังทนได้ (1โครินธ์ 10:13)

การมีชีวิตอยู่ในโลกที่เสื่อมสลายนี้แปลว่าเราต้องเผชิญกับผลของความ เสื่อมด้วย ทำให้ความทุกข์กลายเป็นส่วนหนึ่งของประสบการณ์ชีวิต ไม่ใช่เพราะเป็นคริสเตียน แต่ในฐานะมนุษย์

(2) องค์พระเยซูคริสต์ทรงสถิตกับเราเสมอโดยทางพระวิญญาณบริสุทธิ์ ซึ่งประทานความมั่นใจให้เราว่าเราเป็นบุตรของพระเจ้า และมีความหวังใจในชีวิตนิรันดร์ พระองค์ทรงสื่อสารแทนเราเมื่อเป็นทุกข์หนัก พระเยซูให้ความมั่นใจว่าจะทรงอยู่กับเราเสมอจนกว่าจะสิ้นยุค (มัทธิว 28:20) พระองค์ตรัสว่าจะไม่ละหรือทอดทิ้งเราเลย (ฮีบรู 13:5) เราจะไม่มีวันอยู่ตามลำพังในท่ามกลางความทุกข์ ที่จริงแล้วพระองค์ดึงเราให้เข้าใกล้โดยผ่านความทุกข์ (ดูสดุดี 73:21-28)

(3) คริสเตียนต้องมั่นใจว่าความทุกข์ใดที่ผ่านเข้ามาในชีวิตมาจากพระหัตถ์แห่ง ความรักของพระเจ้าที่มีต่อพวกเขา เพื่อให้เกิดผลดี และเพื่อพระสิริของพระองค์ :

เรารู้ว่า พระเจ้าทรงช่วยคนที่รักพระองค์ให้เกิดผลอันดีในทุกสิ่ง คือคนทั้งปวงที่พระองค์ได้ทรงเรียกตามพระประสงค์ของพระองค์ เพราะว่าผู้หนึ่งผู้ใดที่พระองค์ได้ทรงทราบอยู่แล้ว ผู้นั้นพระองค์ได้ทรงตั้งไว้ให้เป็นตามลักษณะพระฉาย แห่งพระบุตรของพระองค์ เพื่อพระบุตรนั้นจะได้เป็นบุตรหัวปีท่ามกลางพวกพี่น้องเป็นอันมาก และบรรดาผู้ที่พระองค์ได้ทรงตั้งไว้นั้น พระองค์ได้ทรงเรียกมาด้วย และผู้ที่พระองค์ได้ทรงเรียกมานั้น พระองค์ทรงโปรดให้เป็นผู้ชอบธรรม และผู้ที่พระองค์ทรงโปรดให้เป็นผู้ชอบธรรม พระองค์ก็ทรงโปรดให้มีศักดิ์ศรีด้วย (โรม 8:28-30)

(4) เราสามารถเผชิญความทุกข์อย่างผู้มีชัยชนะ โดยรับรู้ความจริงว่าพระคริสต์ พระผู้ช่วยให้รอดของเรา ได้ทนทุกข์เพื่อเรา เพื่อให้เราได้รับชีวิตนิรันดร์:

ถ้าเช่นนั้นเราจะว่าอย่างไร ถ้าพระเจ้าทรงอยู่ฝ่ายเรา ใครจะขัดขวางเรา พระองค์ผู้มิได้ทรงหวงพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ แต่ได้ทรงโปรดประทานพระบุตรนั้นเพื่อประโยชน์แก่เรา ถ้าเช่นนั้นพระองค์จะไม่ทรงโปรดประทานสิ่งสารพัดให้เราทั้งหลาย ด้วยกันกับพระบุตรนั้นหรือ ใครจะฟ้องคนเหล่านั้นที่พระเจ้าได้ทรงเลือกไว้ พระเจ้าทรงโปรดให้พ้นโทษแล้ว ใครเล่าจะเป็นผู้ปรับโทษอีก พระเยซูคริสต์น่ะหรือ ผู้ทรงสิ้นพระชนม์แล้ว และยิ่งกว่านั้นอีกได้ทรงถูกชุบให้เป็นขึ้นมาจากความตาย ทรงสถิต ณ เบื้องขวาพระหัตถ์ของพระเจ้า และทรงอธิษฐานขอเพื่อเราทั้งหลายด้วย แล้วใครจะให้เราทั้งหลายขาดจากความรักของพระคริสต์ได้เล่า จะเป็นความทุกข์ หรือความยากลำบาก หรือการเคี่ยวเข็ญ หรือการกันดารอาหาร หรือการเปลือยกาย หรือการถูกโพยภัย หรือการถูกคมดาบหรือ ตามที่เขียนไว้ในพระคัมภีร์ว่า เพราะเห็นแก่พระองค์ ข้าพระองค์จึงถูกประหารวันยังค่ำ และนับว่าเป็นแกะสำหรับจะเอาไปฆ่า แต่ ว่าในเหตุการณ์ทั้งปวงเหล่านี้ เรามีชัยเหลือล้นโดยพระองค์ผู้ได้ทรงรักเราทั้งหลาย เพราะข้าพเจ้าเชื่อมั่นว่า แม้ความตาย หรือชีวิต หรือบรรดาทูตสวรรค์ หรือเทพเจ้า หรือสิ่งซึ่งมีอยู่ในปัจจุบันนี้ หรือสิ่งซึ่งจะมีในภายหน้า หรือฤทธิ์เดชทั้งหลาย หรือซึ่งสูง หรือซึ่งลึก หรือสิ่งใดๆอื่นที่ได้ทรงสร้างแล้วนั้น จะไม่สามารถกระทำให้เราทั้งหลายขาดจากความรักของพระเจ้า ซึ่งมีอยู่ในพระเยซูคริสต์องค์พระผู้เป็นเจ้าของเราได้ (โรม 8:31-39)

สรรเสริญพระเจ้าที่เรามีพระบิดา ที่รักเรา และทรงครอบครองอยู่ ผู้อนุญาตให้เราผ่านความทุกข์เพื่อผลดีของเรา และเพื่อพระสิริของพระองค์ !

โดย : Robert L (Bob) Deffinbaugh

ได้รับอนุญาตและเป็นลิขสิทธิของ https://bible.org/

แปล : อรอวล ระงับภัย (Church of Joy)


1 บทเรียนต่อเนื่องบทนี้ปรับจากต้นฉบับเดิมของพระกิตติคุณมัทธิวบทเรียนที่ 3 จัดทำโดย อ. Robert L. Deffinbaugh วันที่ 2 มีนาคม 2003

2 ผมเพิ่มพระวจนะข้อ 3-15 เพื่อให้ง่ายต่อการดูบริบท

3 นอกจากที่กล่าวไปแล้ว พระวจนะที่นำมาอ้างอิงทั้งหมดมาจาก NET Bible (The NEW ENGLISH TRANSLATION) เป็น ฉบับแปลใหม่ทั้งหมด ไม่ใช่นำฉบับเก่าในภาษาอังกฤษมาเรียบเรียงใหม่ ใช้ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการพระคัมภีร์มากกว่า ยี่สิบคน รวบรวมข้อมูล ทั้งจากภาษาฮีบรูโดยตรง ภาษาอาราเมข และภาษากรีก โครงการแปลนี้เริ่มมาจากที่เราต้องการนำ พระคัมภีร์ เผยแพร่ผ่านสื่ออีเลคโทรนิค เพื่อรองรับการใช้งานทางอินเตอร์เน็ท และซีดี (compact disk) ที่ใดก็ตามในโลก ที่ต่อเข้าอินเตอร์เน็ทได้ ก็สามารถเรียกดู และพริ้นทข้อมูลไว้เพื่อใช้ศึกษาเป็นการส่วนตัวได้โดยไม่คิดมูลค่า นอกจากนี้ ผู้ใดก็ตาม ที่ต้องการนำข้อมูลเกี่ยวกับพระคัมภีร์ไปเผยแพร่ต่อโดยไม่คิดเงิน สามารถทำได้จากเว็บไซด์ : www.netbible.org.

4 ผมมีประสบการณ์ในประเทศอินเดียที่ช่วยให้เข้าใจว่าทำไมหลายคนมองคนตาบอดว่า ไร้สมรรถภาพ ตอนเข้าประเทศอินเดียพร้อมกับเพื่อนตาบอดอีกคน เคร็ก เนลสัน เราถูกเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองสอบถาม เมื่อเห็นว่าเพื่อนของผมพิการ เขาหันมาที่ผมแทน ถามว่า “เขาป่วยเหรอ?” เพื่อนผมตอบว่า “ผมไม่ได้ป่วย ผมแค่มองไม่เห็น” พอได้ยิน เจ้าหน้าที่คนนั้นไม่ยอมพูดกับเพื่อนผมเลย พูดกับผมแทน เหมือนกับเพื่อนผมไม่มีตัวตน จึงไม่น่าประหลาดใจที่ขอทานพิการนอกพระวิหาร (กิจการ 3) เรียกร้องอยากได้บางสิ่งเมื่อเขารู้สึกว่าเปโตรและยอห์นมองมา

5 ชายคนนี้ตาบอดมาตั้งแต่เกิด ดังนั้นเรื่องทำบาปคงเป็นไปได้ยาก แต่กลับต้องรู้สึกว่าที่ตาบอดเป็นเพราะพระเจ้าลงโทษ

6 ดูลูกา 4:18-19

7 ดูตัวอย่างที่พระเยซูรักษาชายพิการที่สระเบธซาธา พระองค์กลับไปพบเขาที่พระวิหาร ตรัสสั่งว่า “นี่แน่ะ เจ้าหายโรคแล้ว อย่าทำบาปอีก มิฉะนั้นเหตุร้ายกว่านั้นจะเกิดกับเจ้า” (ยอห์น 5:14)

8 โยเซฟแกล้งทำเป็นดุดัน (ปฐมกาล 42:7) เพราะเขาแอบไปร้องไห้เมื่ออยู่ลำพัง (42:24; 43:30)

9 ใน 2โครินธ์ 1:3-7 ด้วยที่ อ.เปาโลสอนว่าการเล้าโลมใจที่เราได้รับเมื่อผจญความทุกข์ทำให้เราสามารถไป เล้าโลมใจผู้อื่นในยามที่พวกเขาทุกข์ได้

10 อย่าลืมว่าความตายของพวกปุโรหิตอาจเกี่ยวข้องกับคำแช่งสาปของเอลีใน 1 ซามูเอล 2:27-36

11 ในปฐมกาล อับราฮัมคัดค้านพระเจ้าแทนผู้ชอบธรรม ในโยนาห์ พระเจ้าทรงปกป้อง “พวกไร้เดียงสา” เช่นเด็กๆและสัตว์เลี้ยง

12 ดูอพยพ 34:6 เนหะมีย์ 9:17, 31; สดุดี 103.8; 111:14; 112:4; 116:5

13 สิ่งหนึ่งที่พวกคิดว่าตนเองชอบธรรมเกลียดชังคือพระคุณ

14 ผู้อ่านอาจจะสังเกตว่าผมใช้คำว่า “ไร้เดียงสา” แทนคำว่าผู้ชอบธรรมตามที่อับราฮัมใช้ในปฐมกาล 18:23 เพราะสถานการณ์นี้แตกต่างจากสถานการณ์ในโสดมโกโมราห์ แต่ก็มีส่วนคล้าย

15 จาก Walvoord, J. F. Zuck, R. B., & Dallas Theological Seminary. 1983-c1985. The Bible Knowledge Commentary: An Exposition of the Scriptures. Victor Books: Wheaton, IL. Emphasis mine.

16 Ibid.

17 Ibid.

18 ข้อสรุปนี้ใกล้เคียงกับที่ผมเข้าใจว่าทารกที่ตายจะได้ไปสวรรค์ มุมมองที่ผมพูดไว้อย่างละเอียดในบทเรียน 2ซามูเอล 12

Related Topics: Suffering, Trials, Persecution

4. ยอห์นผู้ให้บัพติศมา และพระเยซู (มัทธิว 3:1-17)

Related Media

คำนำ1

หลายปีมาแล้วผมและภรรยานั่งดูรายการโทรทัศน์ถ่ายทอดสดงานประกาศของบิลลี่ เกรแฮมในดัลลัส เท็กซัส มีเพลงร้องนำเพราะๆจากไมเคิล ดับเบิ้ลยู สมิท และวงดนตรีไกเธอร์ โวคัล แบนด์ พอถึงเวลาบิลลี่ เกรแฮมต้องขึ้นพูด ผู้ที่ขึ้นไปกล่าวแนะนำคืออดีตประธานาธิบดีจอร์จ บุช (คนพ่อ) บุชพูดถึงบิลลี่ได้อย่างน่าฟัง พูดถึงความสัตย์ซื่อของท่านในการประกาศข่าวประเสริฐ รวมถึงคำเทศนาที่ท่านเคยเทศน์ให้อดีตประธานาธิบดีคนก่อนๆและครอบครัวฟังมา หลายปี

ถ้าพระเยซูจะไปเทศนาที่สนามฟุตบอลในดัลลัส เท็กซัส คุณว่าใครควรเป็นคนขึ้นไปกล่าวแนะนำพระองค์? ผมแน่ใจว่าคนแรกคงไม่ใช่ยอห์นผู้ให้บัพติศมาแน่ ที่จริงผมว่าคงไม่มีการนำเสนอชื่อท่านด้วยซ้ำ แต่เราพูดได้ว่าภารกิจในชีวิตของยอห์นคือแนะนำพระเยซูคริสต์ว่าคือพระเม สซิยาห์ตามพระสัญญา ความหวังใจของคนทุกยุคสมัย แต่ใครจะไปคิดว่าพระเจ้าจะเลือกคนอย่างยอห์นผู้ให้บัพติศมาทำภารกิจนี้? ถ้าจะพูดว่ายอห์นนั้นมี “เอกลักษณ์” เฉพาะตัว ก็เป็นการประเมินที่ต่ำไป ท่านเป็นเหมือน “คนป่า” ในถิ่นทุรกันดาร เป็นชายที่ตั้งแต่เด็กไปใช้ชีวิตอยู่ “ในถิ่นทุรกันดาร จนถึงวันที่ท่านจะได้มาปรากฏแก่ชนชาติอิสราเอล” (ลูกา 1:80)2 สวมเสื่อผ้าที่ทำด้วยขนอูฐ อาหารคือจั๊กจั่นและน้ำผึ้งป่า (มัทธิว 3:4) คำพูดของท่านไม่ได้รับการขัดเกลา ทื่อและตรงเป้า แทนที่จะต้อนรับทุกคนที่มาหา ท่านกลับใช้ถ้อยคำโจมตีบางคนด้วยซ้ำ และนี่คือชายที่พระเจ้าเลือกสรรไว้ให้แนะนำพระบุตรของพระองค์ พระเมสซิยาห์

ไม่ว่าใครจะคิดอย่างไรเกี่ยวกับยอห์น ไม่มีใครกล้าปฏิเสธความสำเร็จของท่าน นอกจากความเป็นตัวตนของท่านแล้ว ยอห์นดึงดูดฝูงชนมากมาย สิ่งที่ท่านประกาศสร้างผลกระทบยิ่งใหญ่ให้กับผู้คนมากมาย เหมือนกับที่ทูตสวรรค์ได้บอกกับเศคาริยาห์บิดาของท่านทุกประการ:

แต่ทูตองค์นั้นกล่าวแก่ท่านว่า “เศคาริยาห์เอ๋ย อย่ากลัวเลย ด้วยได้ทรงฟังคำอธิษฐานของท่านแล้ว นางเอลีซาเบธ ภรรยาของท่านจะมีบุตรเป็นผู้ชาย และท่านจงตั้งชื่อบุตรนั้นว่ายอห์น ท่านจะมีความปรีดาและยินดี และคนเป็นอันมากจะเปรมปรีดิ์ที่บุตรนั้นบังเกิดมา เพราะว่าเขาจะเป็นใหญ่จำเพาะพระเจ้า เขาจะไม่กินน้ำองุ่นหมักและเหล้าเลย และจะประกอบไปด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์ตั้งแต่ครรภ์มารดา เขาจะนำพงศ์พันธุ์อิสราเอล หลายคนให้หันกลับมาหาพระเจ้าของเขาทั้งหลาย เขาจะนำหน้าพระองค์โดยน้ำใจและ ฤทธิ์เดชของเอลียาห์ ให้พ่อกลับคืนดีกับลูก และคนดื้อด้านให้กลับได้ปัญญา ของคนชอบธรรม เพื่อจัดเตรียมชนชาติหนึ่งไว้ให้สมแก่พระเจ้า” (ลูกา 1:13-17)

ความยิ่งใหญ่ของยอห์นไม่อาจปฏิเสธได้ หนังสือพระกิตติคุณทั้งสี่เล่มต่างก็บันทึกเรื่องพันธกิจของพระเยซูคริสต์ โดยมีถ้อยคำของยอห์นนำร่อง พระเยซูคริสต์เองยังตรัสยกย่องท่าน:

“เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ในบรรดาคนซึ่งเกิดจากผู้หญิงมานั้น ไม่มีผู้ใดใหญ่กว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา แต่ว่าผู้ที่ต่ำต้อยที่สุดในแผ่นดินสวรรค์ก็ยังใหญ่กว่ายอห์นเสียอีก“ (มัทธิว 11:11)

ผู้ชายทุกคนเหมือนกับเฮโรด ไม่ค่อยกล้ายุ่งกับยอห์น ในอีกแง่ เฮโรดอาจกลัวฝูงชน เพราะพวกเขานับถือท่าน (มัทธิว 14:5) แต่ในอีกแง่ เฮโรดเองก็ยำเกรงยอห์น (มาระโก 6:20) ภาพลักษณ์ของยอห์นอาจดูไม่โดดเด่น แถมยังเป็นนักพูดที่ไม่ได้โด่งดัง แต่ที่แน่ๆท่านดึงดูดฝูงชนจำนวนมาก หลายคนทำตามที่ท่านสอน แม้ไม่ได้เดินทางไปไหนไกล แต่เรารู้ว่ามีผู้มาติดตามท่านจากที่ไกลเช่นจากยูเดีย และเอเฟซัส:

มียิวคนหนึ่งชื่ออปอลโล เกิดในเมืองอเล็กซานเดรีย เป็นคนมีโวหารดี และชำนาญมากในทางพระคัมภีร์ ท่านมายังเมืองเอเฟซัส อปอลโลคนนี้ได้รับการอบรมในทางขององค์พระผู้เป็นเจ้า และมีใจร้อนรนกล่าวสั่งสอนอย่างถูกต้องถึงเรื่องพระเยซู ถึงแม้ท่านรู้แต่เพียงบัพติศมาของยอห์นเท่านั้น (ยอห์น 26) ท่านได้เข้าไปในธรรมศาลาสั่งสอนโดยใจกล้า แต่เมื่อปริสสิลลากับอาควิลลาได้ฟังท่านแล้ว เขาจึงรับท่านมาสั่งสอนให้รู้ทางของพระเจ้าให้ถูกต้องยิ่งขึ้น (กิจการ 18:24-26)

ขณะที่อปอลโลยังอยู่ในเมืองโครินธ์ เปาโลได้ไปตามที่ดอน แล้วมายังเมืองเอเฟซัส ท่านพบสาวกบางคนที่นั่น จึงถามเขาว่า “เมื่อท่านทั้งหลายเชื่อนั้น ท่านได้รับพระวิญญาณบริสุทธิ์หรือเปล่า” เขาตอบว่า “เปล่า เรื่องพระวิญญาณบริสุทธิ์นั้นเราก็ยังไม่เคยได้ยินเลย” เปาโลจึงถามเขาว่า “ถ้าอย่างนั้นท่านได้รับบัพติศมาอันใดเล่า” เขาตอบว่า “บัพติศมาของยอห์น” เปาโลจึงว่า “ยอห์นให้รับบัพติศมาสำแดงถึงการกลับใจใหม่ แล้วบอกคนทั้งปวงให้เชื่อในพระองค์ผู้จะเสด็จมาภายหลังคือพระเยซู” เมื่อเขาได้ยินอย่างนั้น เขาจึงรับบัพติศมาในพระนามของพระเยซูเจ้า เมื่อเปาโลได้วางมือบนเขาแล้ว พระวิญญาณบริสุทธิ์ก็เสด็จลงมาบนเขา เขาจึงพูดภาษาแปลกๆและได้ทำนายด้วย คนเหล่านั้นมีประมาณสิบสองคน (กิจการ 19:1-7)

ในฐานะผู้เผยพระวจนะ ยอห์นผู้ให้บัพติศมาเป็นสิ่งแปลกใหม่ในอิสราเอลยุคนั้น เพราะผ่านมาเกือบ 400 ปีที่พระเจ้าไม่ได้ตรัสผ่านผู้เผยพระวจนะ (ดูอิสยาห์ 29:10) แล้วจู่ๆจากถิ่นทุรกันดารในยูเดียก็มีเสียงป่าวร้องขึ้นมา “จงกลับใจเสียใหม่ เพราะว่าแผ่นดินสวรรค์มาใกล้แล้ว” (มัทธิว 3:2) ผู้คนต่างก็แห่ไปที่ถิ่นทุรกันดาร ไปดูและไปฟังท่าน บางคนไปเพราะอยากรู้อยากเห็น ขณะที่บางคนไปเพราะต้องการกลับใจ สารภาพบาป และรับบัพติศมา คนอื่นๆ (เช่นพวกสะดูสิ และฟาริสี มัทธิว 3:7) อาจไปเพราะไปหาแนวร่วมมาต่อต้าน

บทเรียนนี้จะมุ่งไปที่ยอห์นผู้ให้บัพติศมา พันธกิจของท่าน ข่าวที่ท่านประกาศและวิธีการ ในขณะที่ผู้เขียนพระกิตติคุณแต่ละเล่มเน้นความสำคัญและให้มุมมองที่ต่างกัน ผมตั้งใจให้บทเรียนบทนี้เกี่ยวข้องกับยอห์นผู้ให้บัพติศมาตามมุมองของมัทธิว

ข้อสังเกต

เราควรเริ่มจากตั้งข้อสังเกตในตัวของท่านยอห์นผู้ให้บัพติศมา

(1) ยอห์นผู้ให้บัพติศมาเป็นบุคคลที่มีเอกลักษณ์ ที่แน่ๆ เป็นคนที่โดดเด่นท่ามกลางฝูงชน เป็นพระประสงค์ของพระเจ้าที่ไม่ต้องการให้ท่านแปดเปื้อนจากวงการศาสนาที่ เสื่อม ลงในยุคนั้น ท่านเป็นชาวนาซาเร็ธโดยกำเนิด และประกอบด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์ตั้งแต่ครรภ์มารดา (ลูกา 1:15) และตามที่กล่าวไปแล้วเสื้อผ้าและอาหารของท่าน “ตกขอบ” อีกต่างหาก ตั้งแต่เป็นเด็กท่านออกไปอยู่ในทะเลทราย ในถิ่นทุรกันดารของแคว้นยูเดีย แม้จะเกิดในครอบครัวปุโรหิต ท่านไม่ได้ใช้ชื่อตามหรือรับหน้าที่ต่อจากบิดา (ลูกา 1:59-63, 80) และแม้ยอห์นเป็นผู้เผยพระวจนะ ท่านก็ไม่ได้ทำการอัศจรรย์หรือหมายสำคัญใดๆ:

คนเป็นอันมากพากันมาหาพระองค์ กล่าวว่า “ยอห์นมิได้ทำหมายสำคัญใดๆเลย แต่ทุกสิ่งซึ่งยอห์นได้กล่าวถึงท่านผู้นี้เป็นความจริง” (ยอห์น 10:41)

มันยากที่ผมจะจินตนาการ แต่ยอห์นไม่ได้รู้จักพระเยซูว่าเป็นพระเมสซิยาห์ตามพระสัญญา จนกระทั่งได้ให้บัพติศมาพระองค์ :

วันรุ่งขึ้นยอห์นเห็นพระเยซูกำลังเสด็จมา ทางท่าน ท่านจึงกล่าวว่า “จงดูพระเมษโปดกของพระเจ้า ผู้ทรงรับความผิดบาปของโลกไปเสีย พระองค์นี้แหละที่ข้าพเจ้าได้กล่าวว่า ‘ภายหลังข้าพเจ้า จะมีผู้หนึ่งเสด็จมาเป็นใหญ่กว่าข้าพเจ้า เพราะว่าพระองค์ทรงดำรงอยู่ก่อนข้าพเจ้า’ ข้าพเจ้าเองก็ไม่ได้รู้จักพระองค์ แต่เพื่อให้พระองค์ทรงเป็นที่ประจักษ์แก่พวกอิสราเอล ข้าพเจ้าจึงได้มาให้บัพติศมาด้วยน้ำ” และยอห์นกล่าวเป็นพยานว่า “ข้าพเจ้าเห็นพระวิญญาณเหมือนดังนกพิราบ เสด็จลงมาจากสวรรค์และทรงสถิตบนพระองค์ ข้าพเจ้าเองไม่รู้จักพระองค์ แต่พระองค์ทรงใช้ให้ข้าพเจ้าให้บัพติศมาด้วยน้ำ ได้ตรัสกับข้าพเจ้าว่า ‘เมื่อเจ้าเห็นพระวิญญาณเสด็จลงมาสถิตอยู่บนผู้ใด ผู้นั้นแหละเป็นผู้ให้บัพติศมาด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์’ และข้าพเจ้าก็ได้เห็นแล้วและได้เป็นพยานว่า พระองค์นี้แหละเป็นพระบุตรของพระเจ้า” (ยอห์น 1:29-34)3

(2) มัทธิว (และผู้เขียนพระกิตติคุณเล่มอื่นๆ) ระมัดระวังในการเชื่อมโยงยอห์นเข้ากับพระคัมภีร์เดิม ในพระกิตติคุณสี่เล่ม แต่ละเล่มยอห์นคือผู้ที่เป็น “เสียงหนึ่งร้องว่า” (อิสยาห์ 40):
เสียงหนึ่งร้องว่า
“จงเตรียมมรรคาแห่งพระเจ้าในถิ่นทุรกันดาร”
“จงทำทางหลวงสำหรับพระเจ้าของเรา” (อิสยาห์ 40:3) ที่นำมาใช้ในมัทธิว 3:3 ดูมาระโก 1:3 ด้วย
ลูกา 3:4-6; ยอห์น 1:23

เจาะลงไป เราจะเห็นมัทธิวโยงยอห์นเข้ากับเอลียาห์4 โดยเฉพาะลักษณะของท่าน ใน 2พงศ์กษัตริย์ 1 อาหัสยาห์โอรสอาหับ ตกลงมาจากช่องพระแกลตาข่ายและบาดเจ็บ อยากรู้ว่าตัวเองจะหายมั้ย จึงส่งผู้สื่อสารไปสอบถามบาอัลเซบุบ เอลียาห์เข้ามาขวางผู้สื่อสารนี้ ส่งพวกเขากลับไปหาอาหัสยาห์พร้อมคำตำหนิ ลองดูท่าทีตอบสนองของอาหัสยาห์เมื่อผู้สื่อสารกลับมา:

ผู้สื่อสารนั้นก็กลับมาเฝ้าพระราชา พระองค์ตรัสถามเขาทั้งหลายว่า “ทำไมพวกเจ้าจึงพากันกลับมา” และเขาทั้งหลายทูลพระองค์ว่า “มีชายคนหนึ่งมาพบกับพวกข้าพระบาท และพูดกับพวกข้าพระบาทว่า ‘จงกลับไปหาพระราชาผู้ใช้ท่านมา และทูลพระองค์ว่า พระเจ้าตรัสดังนี้ว่า เพราะไม่มีพระเจ้าในอิสราเอลแล้วหรือ เจ้าจึงใช้คนไปถามพระบาอัลเซบูบพระเจ้าแห่งเอโครน เพราะฉะนั้นเจ้าจะไม่ได้ลงมาจากที่นอนซึ่งเจ้าได้ขึ้นไปนั้น แต่เจ้าจะต้องตายแน่’” พระองค์ตรัสถามเขาทั้งหลายว่า “คนที่ได้มาพบเจ้าและบอกสิ่ง เหล่านี้แก่เจ้านั้นเป็นคนในลักษณะใด” เขาทั้งหลายทูลตอบพระองค์ว่า “ท่านสวมเสื้อขนและมีหนังคาดเอวของท่านไว้” และพระองค์ตรัสว่า “เป็นเอลียาห์ชาวทิชบี”(2พงศ์กษัตริย์ 1:5-8)

ทำไมถึงเอลียาห์? คำตอบแรก และตรงที่สุดคือสิ่งที่มาลาคีพยากรณ์ไว้ (3:1; 4:5) เอลียาห์ เช่นเดียวกับยอห์น เหมือนคนป่าในถิ่นทุรกันดาร อยู่ไม่เป็นที่ อาศัยห่างไกลจากสังคม แต่เอลียาห์เป็นผู้เผยพระวจนะในอาณาจักรเหนือ ไม่ใช่ในยูดาห์ ซึ่งตามข้อเท็จจริงผมเชื่อว่าสิ่งนี้มีความหมาย เอลียาห์ทำพันธกิจในยุคที่ “พวกเสเแสร้ง” อย่างกษัตริย์อาหับครองบัลลังก์ ผู้ที่ไม่สมควรนั่งบนบัลลังก์ของดาวิด พอยุคของยอห์น “พวกเสแสร้ง” คือเฮโรด เป็นลูกครึ่ง (เทียบกับเฉลยธรรมบัญญัติ 17:15) เมื่อภรรยาที่ชั่วร้ายของอาหับ เยเซเบล (ธิดาของกษัตริย์ไซดอนผู้ไหว้รูปเคารพ) หาทางฆ่าเอลียาห์ เฮโรเดียส ภรรยาที่ชั่วร้ายและใจคดของเฮโรดก็เช่นกัน หาทางฆ่ายอห์นด้วย (มัทธิว 14:1-2) อาธาลิยาห์ ธิดาของอาหับกับเยเซเบล เป็นหญิงที่ชั่วร้ายแต่งงานกับเยโฮรัมกษัตริย์แห่งยูดาห์ (2พงศ์กษัตริย์ 8:16-19, 26) ยิ่งทำให้เสื่อมลงไปใหญ่ ลูกสาวของเฮโรเดียสก็ไม่ต่างกัน มีส่วนทำให้เฮโรดตกต่ำและสังหารชีวิตของยอห์นผู้ให้บัพติศมา (มัทธิว 14:1-12) เมื่อเอลียาห์มาต่อต้านกษัตริย์และราชินีแห่งอิสราเอล ยอห์นผู้ให้บัพติศมาก็ไปเผชิญหน้ากับกษัตริย์เฮโรดและภรรยานางเฮโรเดียส

เอลียาห์เรียกร้องให้อาณาจักรเหนือกลับใจและหันเสียจากบาปล่วงประเวณีที่ หันไปนมัสการพระของคนต่างชาติ ยอห์นผู้ให้บัพติศมาเรียกร้องให้ชาวยิวในยูดาห์สำนึกบาปและกลับใจ เพราะทำให้ศาสนาเที่ยงแท้เสื่อมตามไปด้วย ตามที่เอเสเคียล 16 กล่าวไว้ เยรูซาเล็มและยูดาห์ทำบาปที่ร้ายแรงกว่าที่อิสราเอลละทิ้งศาสนา ยูดาห์แพศยากว่าอิสราเอลถึงสองเท่า จึงต้องรับพระอาชญาที่หนักกว่า

ขณะที่เอลียาห์เข้าใจว่าตนเองทำพันธกิจไม่สำเร็จ (1พงศ์กษัตริย์ 19) ยอห์นผู้ให้บัพติศมาก็ด้วย ท่านถามเพราะสงสัยว่าพระเยซูคือพระเมสซิยาห์หรือเปล่า (มัทธิว 11:2) ในกรณีของเอลียาห์ พันธกิจของท่านสำเร็จลงเมื่อไปเจิมตั้งฮาซาเอลเป็นกษัตริย์เหนือซีเรีย และเยฮูเป็นกษัตริย์เหนืออิสราเอล (1พงศ์กษัตริย์ 19:15-16) นอกจากนั้น เอลียาห์เลือกเอลีชามารับหน้าที่ต่อจากท่าน (1พงศ์กษัตริย์ 19:16) เอลีชาสำหรับเอลียาห์เหมือนกับพระเยซูสำหรับยอห์นผู้ให้บัพติศมา จึงไม่น่าประหลาดขณะที่พระเจ้าเรียกยอห์นให้มาประกาศถึงการเสด็จมาของ กษัตริย์เที่ยงแท้แห่งอิสราเอล ท่านก็จะมาประณามกษัตริย์จอมปลอม (เฮโรด) ที่กำลังนั่งครองบัลลังก์

(3) พันธกิจของยอห์นตามที่มัทธิวบันทึก บรรยายถึงความพิเศษและเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของท่าน และอย่างที่คาด พระกิตติคุณทุกเล่มพูดถึงพันธกิจของยอห์นผู้ให้บัพติศมาในแง่มุมที่คล้ายกัน แต่เน้นบางมุมที่แตกต่าง มาระโกไม่มีแง่ลบสำหรับคนที่เข้ามาขอรับบัพติศมา ส่วนลูกา ยอห์นเจาะไปที่ฝูงชนที่เข้ามาหา เตือนคนที่คิดว่าตัวเองเป็นลูกหลานอับราฮัม และพูดถึงตัวอย่าง “ผลของการกลับใจ” คนที่มีเสื้อหรือมีอาหารพอให้แบ่งปันให้คนที่ไม่มี (ลูกา 3:11)5 คนเก็บภาษีก็ไม่ควรเก็บเกินพิกัด (3:12-13) ฝ่ายทหารอย่ากรรโชก อย่าใส่ความเพื่อเอาเงิน ควรพอใจในค่าจ้างของตน (3:14)
พระกิตติคุณมัทธิวเน้นในแง่มุมที่ต่างไปเมื่อพูดถึงฝูงชนที่เข้ามาหายอห์น :

ครั้นยอห์นเห็นพวกฟาริสี และพวกสะดูสีพากันมาเป็นอันมาก เพื่อจะรับบัพติศมา ท่านจึงกล่าวแก่เขาว่า “เจ้าชาติงูร้าย ใครได้เตือนเจ้าให้หนีจากพระอาชญาซึ่งจะมาถึงนั้น เหตุฉะนั้นจงพิสูจน์การกลับใจของเจ้าด้วยผลที่เกิดขึ้น อย่านึกเหมาเอาในใจว่าตัวมีอับราฮัมเป็นบิดา เพราะเราบอกเจ้าทั้งหลายว่า พระเจ้าทรงฤทธิ์อาจจะให้บุตรเกิดขึ้นแก่อับราฮัมจากก้อนหินเหล่านี้ได้ บัดนี้ขวานวางไว้ที่โคนต้นไม้แล้ว และทุกต้นที่ไม่เกิดผลดีจะต้องตัดแล้วโยนทิ้งในกองไฟ เราให้เจ้าทั้งหลายรับบัพติศมาด้วยน้ำ แสดงว่ากลับใจใหม่ก็จริง แต่พระองค์ผู้จะมาภายหลังเรา ทรงมีอิทธิฤทธิ์ยิ่งกว่าเราอีก ซึ่งเราไม่คู่ควรแม้จะถอดฉลองพระบาทของพระองค์ พระองค์จะทรงให้เจ้าทั้งหลาย รับบัพติศมาด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์และด้วยไฟ พระหัตถ์ของพระองค์ถือพลั่วพร้อมแล้ว และจะทรงชำระลานข้าวของพระองค์ให้ทั่ว พระองค์จะทรงเก็บข้าวของพระองค์ไว้ในยุ้งฉาง แต่พระองค์จะทรงเผาแกลบด้วยไฟที่ไม่รู้ดับ” (มัทธิว 3:7-12)

พระกิตติคุณมัทธิวเน้นไปที่บุคคลกลุ่มหนึ่งที่มาตามเฝ้าดูยอห์น ท่านเอ่ยชื่อให้ผู้อ่านรู้ด้วย “พวกฟาริสี และพวกสะดูสี” ซึ่งไม่ได้มารับบัพติศมา แต่มาเรื่องที่ยอห์นให้บัพติศมา บางฉบับเลือกที่จะแปลทำนองว่าผู้นำศาสนาเหล่านี้มาเพื่อขอรับบัพติศมา แต่ในลูกาเขียนไว้ชัดเจนว่าพวกสะดูสีและพวกฟาริสีเหล่านี้กลับไปโดยไม่ได้ รับบัพติศมา :

เมื่อผู้สื่อข่าวทั้งสองของยอห์นไปแล้ว พระองค์จึงตรัสกับประชาชนถึงยอห์นว่า “ท่านทั้งหลายได้ออกไปในถิ่นทุรกันดารเพื่อดูอะไร มิใช่ดูต้นอ้อไหวโดยถูกลมพัดนะ ถ้าอย่างนั้นท่านทั้งหลายได้ไปดูอะไร ดูคนนุ่งห่มผ้าเนื้ออ่อนนิ่มหรือ ดูเถิด คนนุ่งห่มผ้างดงามและอยู่อย่างฟุ่มเฟือยย่อมอยู่ในราชสำนัก แต่ท่านทั้งหลายออกไปดูอะไร ดูผู้เผยพระวจนะหรือ แน่ทีเดียว และเราบอกท่านว่า ท่านนั้นเป็นผู้ประเสริฐยิ่งกว่าผู้เผยพระวจนะเสียอีก คือยอห์นนี้แหละที่พระคัมภีร์กล่าวถึงว่า เราใช้ทูตของเราไปข้างหน้าท่าน ผู้นั้นจะเตรียมมรรคาของท่านไว้ข้างหน้าท่าน เราบอกท่านทั้งหลายว่า ในบรรดาคนที่บังเกิดจากผู้หญิงมานั้น ไม่มีผู้ใดใหญ่กว่ายอห์น แต่ว่าผู้ที่ต่ำต้อยที่สุดในแผ่นดินของพระเจ้าก็ใหญ่กว่ายอห์นเสียอีก” (ฝ่ายคนทั้งปวงเมื่อได้ยินรวมทั้งพวกเก็บภาษีด้วยก็ได้รับว่าพระเจ้า ยุติธรรม โดยที่เขาได้รับบัพติศมาของยอห์นแล้ว แต่พวกฟาริสีและพวกบาเรียนไม่ยอมรับพระประสงค์ของพระเจ้าสำหรับเขา โดยที่มิได้รับบัพติศมาจากยอห์น) (ลูกา 7:24-30)

มัทธิวเป็นคนยิวและเขียนหนังสือเล่มนี้ให้ผู้อ่านชาวยิว ท่านชี้ให้เห็นความจริงว่าผู้นำชาวยิวถูกยอห์นผู้ให้บัพติศมากล่าวตำหนิ อย่างรุนแรง ยอห์นไม่ยอมรับว่าคนพวกนี้กลับใจจริง เป็นพวกหน้าซื่อใจคด เราเห็นว่าพวกผู้นำศาสนาในเยรูซาเล็มไม่ได้ใส่ใจถึงการมาบังเกิดของพระเม สซิยาห์ในเบธเลเฮม (มัทธิว 2:1-6) เราทราบว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาตำหนิผู้นำศาสนาชาวยิวที่มาเพราะสงสัยหรือ อยากรู้อยากเห็น มัทธิวจึงเหมือนปูทางให้เราสำหรับถ้อยคำตักเตือนจากพระเยซูคริสต์ :

“เพราะเราบอกท่านทั้งหลายว่า ถ้าความชอบธรรมของท่าน ไม่ยิ่งกว่าความชอบธรรมของพวกธรรมาจารย์ และพวกฟาริสี ท่านจะไม่มีวันได้เข้าสู่แผ่นดินสวรรค์” (มัทธิว 5:20)

เราเหมือนถูกเตรียมเอาไว้รับมือกับการต่อต้านที่รุนแรงของผู้นำชาวยิวที่ จะมีต่อพระเยซูคริสต์ พวกเขาถือว่าพระองค์เป็นศัตรูต่อ “อาณาจักร” ของพวกเขา
(4) ถ้อยคำของยอห์น : “จงกลับใจเสียใหม่ เพราะว่าแผ่นดินสวรรค์มาใกล้แล้ว” (มัทธิว 3:2) เป็นการประกาศว่าแผ่นดินสวรรค์อยู่ใกล้แค่เอื้อม แปลว่ากษัตริย์ใกล้จะมาปรากฏพระองค์ ยอห์นรอบคอบในสิ่งที่ท่านทำเมื่อนำไปเทียบกับพระราชกิจของพระเมสซิยาห์ ท่านเป็นเพียงเสียงที่ร้องอยู่ในถิ่นทุรกันดาร แต่พระเมสซิยาห์นั้นยิ่งใหญ่กว่า ท่านคิดว่าตนเองไม่คู่ควรแม้จะไปถอดฉลองพระบาท (3:11) ยอห์นให้บัพติศมาด้วยน้ำ แต่พระเมสซิยาห์จะให้บัพติศมาในสิ่งที่ยิ่งใหญ่กว่า

การประกาศถึงการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์เป็นเหมือนคำเตือน ในพระกิตติคุณมัทธิว การป่าวร้องของยอห์นเหมือนคำเตือนไปถึงผู้นำชาวยิว รวมถึงพวกฟาริสี และบรรดาผู้นำที่เรียกว่าเคร่งศาสนา6 สิ่งที่ยอห์นประกาศเป็นคำเตือนถึงการพิพากษาที่กำลังจะมาถึง:

ครั้นยอห์นเห็นพวกฟาริสี และพวกสะดูสีพากันมาเป็นอันมาก เพื่อจะรับบัพติศมา ท่านจึงกล่าวแก่เขาว่า “เจ้าชาติงูร้าย ใครได้เตือนเจ้าให้หนีจากพระอาชญาซึ่งจะมาถึงนั้น เหตุฉะนั้นจงพิสูจน์การกลับใจของเจ้าด้วยผลที่เกิดขึ้น อย่านึกเหมาเอาในใจว่าตัวมีอับราฮัมเป็นบิดา เพราะเราบอกเจ้าทั้งหลายว่า พระเจ้าทรงฤทธิ์อาจจะให้บุตรเกิดขึ้นแก่อับราฮัมจากก้อนหินเหล่านี้ได้ บัดนี้ขวานวางไว้ที่โคนต้นไม้แล้ว และทุกต้นที่ไม่เกิดผลดีจะต้องตัดแล้วโยนทิ้งในกองไฟ (มัทธิว 3:7-10)

พระเมสซิยาห์เสด็จมาเพื่อ “ช่วยชนชาติของพระองค์ให้รอดจากความผิดบาป” (มัทธิว 1:21) จึงจำเป็นที่ชนชาติของพระองค์ต้องเห็นถึงความบาปของตัวเองก่อน ถ้ามนุษย์ยังอยากดื้อดึงในความบาปของตน การเสด็จมาของพระเมสซิยาห์จึงมาเพื่อพิพากษา ไม่ใช่มาเพื่อช่วยให้รอด

ในความคิดของผม ยอห์นผู้ให้บัพติศมาเช่นเดียวกับผู้เผยพระวจนะส่วนใหญ่ ไม่ได้แยกแยะชัดเจนระหว่างการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ครั้งแรกและครั้งที่สอง เหมือนพวกเขาไม่เข้าใจว่าพระองค์จะเสด็จมาสองครั้ง ครั้งแรกมาตายเพื่อเป็นเครื่องบูชาสมบูรณ์แบบแทนคนบาปทั้งหลาย และครั้งที่สองเพื่อมีชัยเหนือศัตรู และตั้งอาณาจักรของพระองค์ ความจริงสิ่งที่ยอห์นประกาศเน้นไปที่การเสด็จมาครั้งที่สองมากกว่า ซึ่งไม่น่าประหลาดใจสำหรับพวกเรา แต่เป็นความลำบากใจของพวกผู้เผยพระวจนะในพระคัมภีร์เดิม:

บรรดาผู้เผยพระวจนะผู้ได้พยากรณ์ถึงพระ คุณซึ่งจะบังเกิดแก่ท่านทั้งหลาย ก็ได้สืบค้นและสอบถามเกี่ยวกับเรื่องความรอดนี้ เขาได้สืบค้นหาบุคคลและเวลา ซึ่งพระวิญญาณของพระคริสต์ผู้ทรงสถิตอยู่ในตัวเขาได้ทรงบ่งไว้ เมื่อเขาได้ทำนายถึงความทุกข์ทรมานของพระคริสต์ และถึงพระสิริที่จะมาภายหลัง ก็ทรงโปรดเผยให้ผู้เผยพระวจนะเหล่านั้นทราบว่า ที่เขาเหล่านั้นได้ปรนนิบัติในเหตุการณ์ทั้งปวงนั้น ไม่ใช่สำหรับเขาเองแต่สำหรับท่านทั้งหลาย บัดนี้คนเหล่านั้นที่ประกาศข่าวประเสริฐแก่ท่านทั้งหลาย ก็ได้กล่าวสิ่งเหล่านั้นแก่ท่านแล้ว โดยพระวิญญาณบริสุทธิ์ที่ทรงโปรดประทานจากสวรรค์ เป็นสิ่งซึ่งพวกทูตสวรรค์ปรารถนาจะได้ดู (1เปโตร 1:10-12)

ผมเห็นว่าการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ครั้งแรกและครั้งที่สองที่ดูคลุม เครือนี้อธิบายถึงสิ่งที่ยอห์นสงสัย ซึ่งเราจะเรียนกันต่อไปในมัทธิวบทที่ 11:

ฝ่ายยอห์นเมื่อติดอยู่ในเรือนจำ ได้ยินถึงกิจการแห่งพระคริสต์ก็ได้ใช้ศิษย์ไป ทูลถามพระองค์ว่า “ท่านเป็นผู้ที่จะมานั้นหรือ หรือจะต้องคอยผู้อื่น” (มัทธิว 11:2-3)

พระเยซูทรงทำการอัศจรรย์รักษาโรคหลายครั้ง คนตาบอดมองเห็น คนง่อยเดินได้ บางคนได้รับการชุบให้เป็นขึ้นมาจากความตาย (มัทธิว 11:5) ปัญหาคือการรักษาโรคอย่างอัศจรรย์นี้ไม่ใช่มาเพื่อพิพากษา แต่กลับเป็นการมาช่วยให้รอด ยอห์นเน้นไปที่การพิพากษาของพระเจ้า พระเยซูให้คนกลับไปบอกยอห์นว่าให้ดูการอัศจรรย์ที่พระองค์ทำ และนำไปเปรียบเทียบกับสิ่งที่บรรดาผู้เผยพระวจนะพยากรณ์ว่าพระเมสซิยาห์จะทำ เมื่อเสด็จมา หนึ่งในนั้นอยู่ในลูกาบทที่ 4:

แล้วพระองค์เสด็จมาถึงเมืองนาซาเร็ธ เป็นที่ซึ่งพระองค์ทรงเจริญวัยขึ้น พระองค์เสด็จเข้าไปในธรรมศาลาในวันสะบาโตตามเคย และทรงยืนขึ้นเพื่อจะอ่านพระธรรม เขาจึงส่งพระคัมภีร์อิสยาห์ผู้เผยพระวจนะให้แก่พระองค์ เมื่อพระองค์ทรงคลี่หนังสือนั้นออก ก็ค้นพบข้อที่เขียนไว้ว่า พระวิญญาณแห่งพระเป็นเจ้าทรงอยู่เหนือข้าพเจ้า เพราะว่าพระองค์ได้ทรงเจิมตั้งข้าพเจ้าไว้ เพื่อนำข่าวดีมายังคนยากจน พระองค์ได้ทรงใช้ข้าพเจ้าให้ร้องประกาศอิสรภาพแก่บรรดาเชลย ให้ประกาศแก่คนตาบอดว่าจะได้เห็นอีก ให้ปล่อยผู้ถูกบีบบังคับเป็นอิสระ และให้ประกาศปีแห่งความโปรดปรานของพระเป็นเจ้า (ลูกา 4:16-19)
สิ่งที่ยอห์นประกาศเป็นคนละเรื่องกับพระเยซูหรือ? ไม่ครับ เมื่อพระเยซูเริ่มต้นเทศนา พระองค์ตรัสย้ำสิ่งที่ยอห์นประกาศไว้ :
ตั้งแต่นั้นมา พระเยซูได้ทรงตั้งต้นประกาศว่า “จงกลับใจเสียใหม่ เพราะว่าแผ่นดินสวรรค์มาใกล้แล้ว” (มัทธิว 4:17)

ถ้ามนุษย์จะได้รับความรอด ต้องมีบางสิ่งที่มาช่วยพวกเขาเพื่อให้รอดจากพระอาชญาของพระเจ้าซึ่งจะเทลงมาเหนือคนบาป
เพราะว่าพระเจ้าทรงรักโลก จนได้ทรงประทานพระบุตรองค์เดียวของพระองค์ เพื่อทุกคนที่วางใจในพระบุตรนั้นจะไม่พินาศ แต่มีชีวิตนิรันดร์ เพราะว่าพระเจ้าทรงให้พระบุตรเข้ามาในโลก มิใช่เพื่อพิพากษาลงโทษโลก แต่เพื่อช่วยกู้โลกให้รอดโดยพระบุตรนั้น ผู้ที่วางใจในพระบุตรก็ไม่ต้องถูกพิพากษาลงโทษ ส่วนผู้ที่มิได้วางใจก็ต้องถูกพิพากษาลงโทษอยู่แล้ว เพราะเขามิได้วางใจในพระนามพระบุตรองค์เดียวของพระเจ้า (ยอห์น 3:16-18)

เพราะเหตุนั้นเมื่อเราเป็นคนชอบธรรมแล้วโดยพระโลหิตของพระองค์ ยิ่งกว่านั้นเราจะพ้นจากพระอาชญาของพระเจ้าโดยพระองค์ (โรม 5:9)

สิ่งที่ยอห์นประกาศไม่เพียงแต่เตือนถึงพระอาชญาที่กำลังจะมาถึง แต่เป็นการเรียกให้ลงมือปฏิบัติ ยอห์นเรียกร้องให้มนุษย์กลับใจจากบาปและรับบัพติศมา คำว่า “กลับใจ”ยอห์ นหมายถึงอะไร? หมายถึงการเปลี่ยนแปลงความคิด และหันหลังกลับ การกลับใจของยอห์นมีความหมายมากกว่าแค่เปลี่ยนความคิด แต่ยังรวมถึงอื่นๆ ผมเชื่อว่าต้องมีความสำนึกผิดและเสียใจ การกลับใจยังหมายถึงเปลี่ยนความคิดและจิตใจ ซึ่งจะส่งผลไปถึงการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ เช่นเปลี่ยนวิถีชีวิต มัทธิวไม่ได้ลงรายละเอียดว่าชีวิตควรเปลี่ยนไปอย่างไรเมื่อกลับใจ พระเยซูทรงวางแนวทางชีวิตไว้ให้ การพิสูจน์การกลับใจของเจ้าด้วยผลที่เกิดขึ้น (3:8) ซึ่งลูกาให้ตัวอย่างไว้หลายแบบ รวมไปถึงคนเก็บภาษี และทหารด้วย (ลูกา 3:11-14)

เมื่ออ่านพระวจนะตอนต่างๆที่พูดถึงสิ่งที่ยอห์นผู้ให้บัพติศมาประกาศ ผมรู้สึกว่ายอห์นไม่ได้แค่ต้องการให้คนกลับใจจากบาปของตน คิดว่าท่านกำลังเรียกร้องให้กลับใจโดยเลิกและละทิ้งระบอบความเชื่อเดิมที่ ต่างจากความเชื่อในพระเยซูคริสต์ในเรื่องการอภัยบาปและรับของขวัญแห่งความ รอดนิรันดร์ พันธกิจของยอห์นในพระกิตติคุณมัทธิวเน้นไปที่ระบอบศาสนาจอมปลอมที่ผู้นำยิว บัญญัติขึ้นมา (เริ่มมาจากฟาริสี)

“เหตุฉะนั้นจงพิสูจน์การกลับใจของเจ้า ด้วยผลที่เกิดขึ้น อย่านึกเหมาเอาในใจว่าตัวมีอับราฮัมเป็นบิดา เพราะเราบอกเจ้าทั้งหลายว่า พระเจ้าทรงฤทธิ์อาจจะให้บุตรเกิดขึ้นแก่อับราฮัมจากก้อนหินเหล่านี้ได้ บัดนี้ขวานวางไว้ที่โคนต้นไม้แล้ว และทุกต้นที่ไม่เกิดผลดีจะต้องตัดแล้วโยนทิ้งในกองไฟ” (มัทธิว 3:8-10)

ยิวไว้ใจในระบอบศาสนาเดิมของบรรพบุรุษในเรื่องความรอด พวกเขาคิดว่าเป็นลูกหลานของอับราฮัมแล้ว มั่นใจได้ว่ามีตั๋วพิเศษแถวหน้าเข้าแผ่นดินสวรรค์ อ.เปาโลอธิบายไว้อย่างเข้มข้นในโรม 9 ว่าการเป็นคริสเตียนเป็นคนละเรื่องกับการเป็นลูกหลานอับราฮัม ยอห์นผู้ให้บัพติศมาปฏิเสธเรื่องความรอดโดยทางบรรพบุรุษอย่างหนักแน่น พระเจ้าทรงฤทธิ์อาจจะให้บุตรเกิดขึ้นแก่อับราฮัมจากก้อนหินเหล่านี้ได้ (3:9) พวกต่างชาติต่างก็มีวิถีปฏิบัติในแบบของตน และพระกิตติคุณลูกาเองก็พูดเรื่องนี้ การกลับใจจึงไม่ใช่แค่ละทิ้งบาปบางอย่าง แต่เป็นการละทิ้งระบอบหรือวิถีที่วางใจในกำลังและการกระทำของมนุษย์แทนที่จะ มีความเชื่อในการหลั่งพระโลหิตของพระเยซูคริสต์เพื่อชดใช้แทนบาปของมนุษย์

เราต้องเข้าใจให้ชัดเจนว่ายอห์นไม่ได้บอกว่าแผ่นดินสวรรค์ที่กำลังมานั้น ต้องพึ่งพาการกระทำของมนุษย์ ไม่ใช่ให้มนุษย์กลับใจเพื่อให้แผ่นดินสวรรค์มา แต่มนุษย์ควรกลับใจ“เพราะ” แผ่นดินสวรรค์มาใกล้แล้ว :

“เรื่องสำคัญที่น่ายินดีคือส่วนที่มนุษย์รับผิดชอบ – กลับใจ หันกลับ เปลี่ยนแปลง – ไม่ใช่ทำเพื่อผลักดันให้การปกครองของพระเจ้าเข้ามา ที่แน่ใจได้คือ “เพราะ” การปกครองของพระเจ้ากำลังใกล้เข้ามาไม่ว่าเราจะเปลี่ยนหรือไม่ก็ตาม แปลว่าแผ่นดินสวรรค์ไม่ได้มาเพราะเราเปลี่ยนแปลง เราจะ “รับโทษ” เพราะแผ่นดินสวรรค์ใกล้เข้ามา หรือจะ “รับพระพร” โดยคุกเข่าลงสำนึกผิดและหันกลับ “แผ่นดินพระเจ้ากำลังมาถึง อย่ารอช้า จงรีบกลับใจ” ข่าวเรื่องการมาถึงของแผ่นดินพระเจ้า “ทำให้” มนุษย์สามารถทำในส่วนของตนได้คือ สำนึกผิด กลับใจ และเปลี่ยนแปลง”7

สัญลักษณ์ภายนอกของการกลับใจคือรับบัพติศมา บัพติศมาอย่างเดียวที่คนยิวสมัยนั้นรู้จักคือบัพติศมาเข้าลัทธิยูดาย บัพติศมาแบบนั้นผู้เชื่อต้องทำพิธีชำระตัวเองและ (ถ้าเป็นผู้ชาย) ต้องเข้าสุหนัต พิธีชำระตัวเองและเข้าสุหนัตที่คนต่างชาติต้องทำถึงจะเข้าลัทธิยูดายได้และ อยู่ภายใต้ธรรมบัญญัติในพระคัมภีร์เดิม ทำให้รู้ว่าคนยิวต้องถ่อมใจลงมาแค่ไหนเพื่อจะรับบัพติศมา ข้อสรุปจึงชัดเจน : ถ้าคนยิวต้องการกลับใจก่อนพระเมสซิยาห์เสด็จมา เขาจำต้องยอมรับว่าลัทธิยูดายไม่อาจช่วยให้รอดพ้นจากบาปได้ และการยอมเข้าบัพติศมาก็เท่ากับลดตัวเองลงมาอยู่ระดับ (ต่ำลง) เดียวกับคนต่างชาติ ทั้งคนยิวและคนต่างชาติต่างเหมือนกันคือต้องเตรียมตัวพร้อมรับการเสด็จมาของ พระเมสซิยาห์โดย: (1) กลับใจจากระบอบศาสนาจอมปลอมที่เคยวางใจ (2) สารภาพบาป และ (3) รับบัพติศมา เช่นเดียวกับที่คนต่างชาติเปลี่ยนไปนับถือศาสนายูดาย จึงไม่น่าประหลาดใจที่ทำไมพวกฟาริสีถึงไม่ต้องการเข้าพิธีบัพติศมา !
คำสอนของพระเยซูต่างจากที่ยอห์นประกาศเล็กน้อย เพราะพระเยซูประกาศว่า ลัทธิยูดาย ก็ยังไม่พอช่วยใครให้รอดจากบาป และเข้าแผ่นดินสวรรค์ได้ :

“อย่าคิดว่าเรามาเลิกล้างธรรมบัญญัติและ คำของผู้เผยพระวจนะ เรามิได้มาเลิกล้าง แต่มาทำให้สมบูรณ์ทุกประการ เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ตราบใดที่ฟ้าและดินดำรงอยู่ แม้อักษรหนึ่งหรือขีดๆหนึ่งก็จะไม่สูญไปจากธรรมบัญญัติ จนกว่าสิ่งที่จะต้องเกิด ได้เกิดขึ้นแล้ว เหตุฉะนั้น ผู้ใดได้ทำให้ข้อเล็กน้อยสักข้อหนึ่งในธรรมบัญญัตินี้เบาขึ้น ทั้งสอนคนอื่นให้ทำอย่างนั้นด้วย ผู้นั้นจะได้ชื่อว่าเป็นผู้น้อยที่สุดในแผ่นดินสวรรค์ แต่ผู้ใดที่ประพฤติและสอนตามธรรมบัญญัติ ผู้นั้นจะได้ชื่อว่าเป็นใหญ่ในแผ่นดินสวรรค์ เพราะเราบอกท่านทั้งหลายว่า ถ้าความชอบธรรมของท่าน ไม่ยิ่งกว่าความชอบธรรมของพวกธรรมาจารย์ และพวกฟาริสี ท่านจะไม่มีวันได้เข้าสู่แผ่นดินสวรรค์” (มัทธิว 5:17-20)

คำสอนของยอห์นจึงเกิดปัญหาขึ้นในใจผม “ทำไมคำสอนของท่านถึงเป็นเชิงลบ?” เมื่อลองคิดดู ผมขอตอบแบบนี้ครับ

ประการแรก อย่าลืมว่ายอห์นผู้ให้บัพติศมาคือใคร คือผู้เผยพระวจนะ ที่จริงเป็นผู้เผยพระวจนะคนสุดท้ายจากพระคัมภีร์เดิม ภารกิจของท่านในฐานะผู้เผยพระวจนะคือเรียกร้องให้มนุษย์มองเห็นสภาพตนเองที่ ตกไปจากพระบัญญัติของพระเจ้าและประกาศว่าพวกเขาต้องถูกลงพระอาชญา พระบัญญัติทำอะไรอีกนอกจากคำแช่งสาป – ชี้ให้เห็นหนทางความรอดที่แท้จริงโดยทางความเชื่อไม่ใช่ทำตามบทบัญญัติ

ประการที่สอง ยอห์นกำลังพูดกับใคร ท่านกำลังพูดกับคนบาป – คนบาปชาวยิวที่ไว้ใจว่าตนเองสืบเชื้อสายมาจากอับราฮัม และพูดกับคนบาปต่างชาติ เช่นคนเก็บภาษีที่เก็บเกินพิกัด กับทหารที่ใช้อำนาจข่มขู่เงินจากคนไม่มีทางสู้ ถ้าคนบาปจะรอดได้ พวกเขาต้องตระหนักว่าเป็นคนบาป สมควรแก่การพิพากษาถึงชีวิต

ประการที่สาม คำเทศนาของยอห์นพูดถึงการพิพากษาที่จะมาถึง ซึ่งสอดคล้องกับสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับพระเยซูคริสต์ หลายคนที่ได้ยินถ้อยคำของยอห์นและปฏิเสธว่าพระเยซูคือพระเมสซิยาห์ตามพระ สัญญา จะตกอยู่ในข่ายถูกพิพากษา คำเทศนาเชิงลบของยอห์น ทำให้ผมนึกถึงคำเตือนของโมเสสในเฉลยธรรมบัญญัติ 28 โมเสสนำพันธสัญญาเดิมที่พระเจ้าทำไว้กับอิสราเอลมากล้าวซ้ำ ท่านพูดถึงพระพรสำหรับคนที่รักษาพระบัญญัติ และพระอาชญาสำหรับคนที่ไม่เชื่อฟัง ในบทที่ 28 ตอนที่ท่านพูดถึงพระพรมีความยาว 15 ข้อ และที่เหลือของบทอีก 54 ข้อพูดถึงพระอาชญา โมเสสโดยการดลใจของพระเจ้าเน้นเรื่องการพิพากษา เพราะท่านรู้ดีว่าจะเกิดอะไรขึ้นหลังจากที่ท่านตาย:

และพระเจ้าตรัสกับโมเสสว่า “ดูเถิด วันซึ่งเจ้าต้องตายก็ใกล้เข้ามาแล้ว จงเรียกโยชูวามา และเจ้าทั้งสองจงมาเฝ้าเราในเต็นท์นัดพบ เพื่อเราจะได้กำชับเขา” โมเสสและโยชูวาก็เข้าไปในเต็นท์นัดพบ และพระเยโฮวาห์ทรงปรากฏในเสาเมฆที่ในเต็นท์นัดพบ และเสาเมฆนั้นอยู่ที่ประตูเต็นท์นัดพบ และพระเจ้าตรัสกับโมเสสว่า “ดูเถิด ตัวเจ้าจวนจะต้องหลับอยู่กับบรรพบุรุษของเจ้าแล้ว และชนชาตินี้จะลุกขึ้นและเล่นชู้กับพระแปลกๆของแผ่นดินนี้ ในที่ที่เขาไปอยู่ท่ามกลางนั้น เขาทั้งหลายจะทอดทิ้งเราเสียและหักพันธสัญญาซึ่งเราได้ กระทำไว้กับเขา แล้วในวันนั้นเราจะกริ้วต่อเขา และเราจะทอดทิ้งเขาเสียและซ่อนหน้าของเราเสียจากเขา เขาทั้งหลายจะถูกกลืน และสิ่งร้ายกับความลำบากเป็นอันมากจะมาถึงเขา ในวันนั้นเขาจึงจะกล่าวว่า ‘สิ่งร้ายเหล่านี้ตกแก่เรา เพราะพระเจ้าไม่ทรงสถิตท่ามกลางเราไม่ใช่หรือ’ ในวันนั้นเราจะซ่อนหน้าของเราเสียจากเขาเป็นแน่ ด้วยเหตุความชั่วซึ่งเขาได้กระทำเพราะเขาได้หัน ไปหาพระอื่น เหตุฉะนี้เจ้าทั้งสองจงเขียนบทเพลงนี้ และสอนคนอิสราเอลให้ร้องจนติดปาก เพื่อบทเพลงนี้จะเป็นพยานของเราปรักปรำคนอิสราเอล เพราะว่าเมื่อเราจะได้นำเขาเข้ามาในแผ่นดิน ซึ่งมีน้ำนมและน้ำผึ้งไหลบริบูรณ์ ซึ่งเราได้ปฏิญาณจะประทานแก่บรรพบุรุษของเขา และเขาได้รับประทานอิ่มหนำและอ้วนพี เขาจะหันไปปรนนิบัติพระอื่น และหมิ่นประมาท เราและผิดพันธสัญญาของเรา และเมื่อสิ่งร้ายและความลำบากหลายอย่างมาถึงเขาแล้ว เพลงบทนี้จะเผชิญหน้าเป็นพยาน (เพราะว่าเพลงนี้จะอยู่ที่ปากลูกหลานของเขาไม่มีวันลืม) เพราะเรารู้ถึงความมุ่งหมายที่เขากำลังจะก่อขึ้นมาแล้ว ก่อนที่เราจะนำเขาเข้าไปในแผ่นดินซึ่งเราปฏิญาณไว้นั้น” โมเสสจึงได้เขียนบทเพลงนี้ในวันเดียวกันนั้นและสอนให้ แก่ประชาชนอิสราเอล (เฉลยธรรมบัญญัติ 31:14-22)

ประการที่สี่ คำเทศนาของยอห์นและการตอบสนองของผู้คน เล็งถึงคำเทศนาในอนาคตของพระเยซูคริสต์และการตอบสนองของผู้คน มัทธิวเลือกเน้นไปที่การตอบสนองของยอห์นที่มีต่อผู้นำศาสนาชาวยิวที่แค่อยาก มาฟัง (หรือมาตรวจสอบ) ยอห์นใช้ถ้อยคำรุนแรงตำหนิ และต่อว่าผู้นำทางศาสนาที่ไม่ได้มาเพื่อกลับใจ แต่มาต่อต้านและยังปฏิเสธไม่ฟังท่านด้วย พระเยซูเองใช้ถ้อยคำตำหนิรุนแรงต่อพวกที่มาต่อต้านพระองค์ – กลุ่มผู้นำศาสนาพวกเดิม พวกนี้เป็นผู้นำที่เชื่อว่าตนเองชอบธรรมดีแล้ว และต่อต้านทุกคนที่เหมือนจะคุกคาม “อาณาจักร” พวกเขา คนพวกนี้เชื่อมั่นว่าตัวเองมีตั๋วห้าสิบหลาเข้าสู่แผ่นดินสวรรค์ของพระเจ้า แบบเดียวกับที่ยอห์นตำหนิผู้นำศาสนาหัวสูงพวกนี้ด้วยถ้อยคำรุนแรง พระเยซูก็ทรงทำเช่นกัน

(5) ถ้อยคำของยอห์นเป็นการถ่ายทอดและส่งต่อและเพื่อให้เตรียมพร้อม ถ้าจะเข้าใจคำเทศนาของยอห์น ก่อนอื่นเราต้องตระหนักถึงช่วงเวลาเจาะจงในชีวิตของท่านและบทบาทเฉพาะที่ ท่านเล่น ซึ่งเท่ากับเป็นการเชื่อมช่องว่างระหว่างพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่

ในอีกมุม คำเทศนาของยอห์นเป็นเหมือน”จุดเริ่มต้นของพระกิตติคุณ” เมื่อพวกสาวกตัดสินใจหาคนมาทำหน้าที่แทนยูดาส พวกเขาคุยกันถึงคุณสมบัติของผู้ที่จะมาทำหน้าที่แทน :

เหตุฉะนั้น ในบรรดาคนที่เป็นพวกเดียวกับเราเสมอตลอดเวลาที่พระเยซูเจ้าได้เสด็จเข้าออก กับเรา คือตั้งแต่บัพติศมาของยอห์น จนถึงวันที่พระเจ้าทรงรับพระองค์ขึ้นไปจากเรา คนหนึ่งในพวกนี้จะต้องเป็นพยานกับเรา ว่าพระองค์ได้ทรงคืนพระชนม์แล้ว” (กิจการ 1:21-22 ดู 10:37; 13:23-25 ด้วย)

หนังสือพระกิตติคุณ และการประกาศข่าวประเสริฐเริ่มต้นจากคำเทศนาของยอห์นผู้ให้บัพติศมาพูดถึง เรื่องนี้ เราต้องเข้าใจความจริงว่าคำพูดที่ยอห์นผู้ให้บัพติศมาประกาศไป ยังไม่ได้เป็นข่าวประเสริฐที่ครบถ้วน เพราะยอห์นยังเป็นส่วนหนึ่งของระบอบเก่า :

เราบอกความจริงแก่ท่านทั้งหลายว่า ในบรรดาคนซึ่งเกิดจากผู้หญิงมานั้น ไม่มีผู้ใดใหญ่กว่ายอห์นผู้ให้รับบัพติศมา แต่ว่าผู้ที่ต่ำต้อยที่สุดในแผ่นดินสวรรค์ก็ยังใหญ่กว่ายอห์นเสียอีก และ ตั้งแต่สมัยยอห์นผู้ให้รับบัพติศมาถึงทุกวันนี้ แผ่นดินสวรรค์ก็เป็นสิ่งที่คนได้แสวงหาด้วยใจร้อนรน และผู้ที่ใจร้อนรนก็เป็นผู้ที่ชิงเอาได้ เพราะว่าคำของผู้เผยพระวจนะทั้งหลาย และธรรมบัญญัติได้พยากรณ์มาจนถึงยอห์นนี้ ถ้าท่านทั้งหลายจะยอมรับให้เป็น ก็ยอห์นนี่แหละ เป็นเอลียาห์ซึ่งจะมานั้น (มัทธิว 11:11-14 และที่ผมเน้น)

ยอห์นเป็นผู้เผยพระวจนะคนสุดท้ายของยุคพระคัมภีร์เดิม คำของท่านมีเพื่อเตรียมมนุษย์สำหรับการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ และข่าวประเสริฐแห่งความรอดที่จะประกาศออกไปหลังจากพระองค์สิ้นพระชนม์ ถูกฝัง คืนพระชนม์ และเสด็จสู่สวรรค์ พระเยซูและอัครสาวกชี้ชัดเจนว่าข่าวประเสริฐยังมีมากกว่าที่ยอห์นประกาศ และดียิ่งกว่า:

เพราะว่ายอห์นให้รับบัพติศมาด้วยน้ำ แต่ไม่ช้าไม่นานท่านจะรับบัพติศมาด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์ (กิจการ 1:5)

มียิวคนหนึ่งชื่ออปอลโล เกิดในเมืองอเล็กซานเดรีย เป็นคนมีโวหารดี และชำนาญมากในทางพระคัมภีร์ ท่านมายังเมืองเอเฟซัส อปอลโลคนนี้ได้รับการอบรมในทางขององค์พระผู้เป็นเจ้า และมีใจร้อนรนกล่าวสั่งสอนอย่างถูกต้องถึงเรื่องพระเยซู ถึงแม้ท่านรู้แต่เพียงบัพติศมาของยอห์นเท่านั้น ท่านได้เข้าไปในธรรมศาลาสั่งสอนโดยใจกล้า แต่เมื่อปริสสิลลากับอาควิลลาได้ฟังท่านแล้ว เขาจึงรับท่านมาสั่งสอนให้รู้ทางของพระเจ้าให้ถูกต้องยิ่งขึ้น (กิจการ 18:24-26)

ขณะที่อปอลโลยังอยู่ในเมืองโครินธ์ เปาโลได้ไปตามที่ดอน แล้วมายังเมืองเอเฟซัส ท่านพบสาวกบางคนที่นั่น จึงถามเขาว่า “เมื่อท่านทั้งหลายเชื่อนั้น ท่านได้รับพระวิญญาณบริสุทธิ์หรือเปล่า” เขาตอบว่า “เปล่า เรื่องพระวิญญาณบริสุทธิ์นั้นเราก็ยังไม่เคยได้ยินเลย” เปาโลจึงถามเขาว่า “ถ้าอย่างนั้นท่านได้รับบัพติศมาอันใดเล่า” เขาตอบว่า “บัพติศมาของยอห์น” เปาโลจึงว่า “ยอห์นให้รับบัพติศมาสำแดงถึงการกลับใจใหม่ แล้วบอกคนทั้งปวงให้เชื่อในพระองค์ผู้จะเสด็จมาภายหลังคือพระเยซู” เมื่อเขาได้ยินอย่างนั้น เขาจึงรับบัพติศมาในพระนามของพระเยซูเจ้า เมื่อเปาโลได้วางมือบนเขาแล้ว พระวิญญาณบริสุทธิ์ก็เสด็จลงมาบนเขา เขาจึงพูดภาษาแปลกๆและได้ทำนายด้วย คนเหล่านั้นมีประมาณสิบสองคน (กิจการ 19:1-7)

โดยทางพันธกิจของยอห์น พระเจ้าทรงแนะนำพระเยซูให้รู้จักในฐานะพระเมสซิยาตามพระสัญญาที่รอคอยมานาน เช่นเดียวกับที่พระองค์ใช้ซามูเอลให้ไปเจิมตั้งซาอูล (1ซามูเอล 10) และต่อมาเจิมตั้งดาวิด (1ซามูเอล 16) ขึ้นเป็นกษัตริย์อิสราเอล อย่างที่ท่านอัครสาวกยอห์นพูด หน้าที่ของท่านคือเป็น “สหายของเจ้าบ่าว” ซึ่งมีสิทธิพิเศษได้ยินเสียงของเจ้าบ่าว และชื่นชมยินดี (ยอห์น 3:29)

บทสรุป

ยอห์นมีบทบาทสำคัญต่อการเริ่มพระราชกิจของพระเยซูคริสต์ ท่านเรียกร้องให้ผู้คนเตรียมพร้อมรับการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ สิ่งที่ท่านประกาศห่างไกลจากคำว่าล้าสมัย พระเยซูคริสต์จะเสด็จกลับมาเป็นครั้งที่สอง และครั้งนี้จะมาเพื่อพิพากษามนุษย์
พระองค์ทรงสั่งให้เราทั้งหลายประกาศแก่คน ทั้งปวง และเป็นพยานว่า พระเจ้าได้ทรงตั้งพระองค์ไว้เป็นผู้พิพากษาทั้งคนเป็นและคนตาย (กิจการ 10:42)

เพราะพระองค์ได้ทรงกำหนดวันหนึ่งไว้ ในวันนั้นพระองค์จะทรงพิพากษาโลกตามความชอบธรรม โดยมนุษย์ผู้นั้นซึ่งพระองค์ได้ทรงเลือกไว้ และพระเจ้าได้ทรงโปรดให้คนทั้งปวงมีความแน่ใจในเรื่องนี้ โดยทรงให้มนุษย์ผู้นั้นคืนชีวิต” (กิจการ 17:31 และ 2ทิโมธี 4:1)

การเสด็จมาครั้งแรก พระเยซูทรงแบกรับความบาปของเราไว้ที่พระองค์ และรับโทษจากผลของบาปนั้น เมื่อเสด็จกลับมาอีกครั้ง พระองค์จะพิพากษาคนบาป และปลดโลกนี้ให้เป็นไทจากบาป ภารกิจของเราในฐานะคริสเตียน คือประกาศข่าวดีที่พระเยซูมาช่วยคนบาปนี้ และเตือนผู้คนว่าวันแห่งการพิพากษาใกล้เข้ามาแล้วสำหรับคนที่ปฏิเสธไม่รับ พระองค์ การกลับใจเช่นเดียวกับความเชื่อ ไม่ใช่สิ่งที่เราทำสำเร็จเอง แต่เป็นของประทานจากพระเจ้า การกลับใจคือบางสิ่งที่พระเจ้าใส่เข้ามาในเรา ไม่ว่าจะอย่างไร เราถูกเรียกให้กลับใจมาเชื่อในพระองค์

ครั้นยอห์นถูกอายัดแล้ว พระเยซูได้เสด็จมายังแคว้นกาลิลี ทรงเทศนาประกาศข่าวประเสริฐของพระเจ้า และตรัสว่า “เวลากำหนดมาถึงแล้ว และแผ่นดินของพระเจ้าก็มาใกล้แล้ว จงกลับใจเสียใหม่ และเชื่อข่าวประเสริฐเถิด” (มาระโก 1:14-15)
ครั้นมาแล้วเปาโลจึงกล่าวว่า “ท่านทั้งหลายย่อมทราบอยู่เองว่า ข้าพเจ้าได้ประพฤติต่อท่านอย่างไรทุกเวลา ตั้งแต่วันแรกเข้ามาในแคว้นเอเชีย ข้าพเจ้าได้ปรนนิบัติพระเจ้าด้วยความถ่อมใจ ด้วยน้ำตาไหล และด้วยถูกการทดลอง ซึ่งมาถึงข้าพเจ้าเพราะพวกยิวคิดร้ายต่อข้าพเจ้า และสิ่งหนึ่งสิ่งใดซึ่งเป็นคุณประโยชน์แก่ท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้ามิได้ปิดซ่อนไว้ แต่ได้ชี้แจงให้ท่านเห็น กับได้สั่งสอนท่านในที่ประชุม และตามบ้านเรือน ทั้งเป็นพยานแก่พวกยิวและพวกกรีก ถึงเรื่องการกลับใจใหม่เฉพาะพระเจ้า และความเชื่อในพระเยซูคริสตเจ้าของเรา (กิจการ 20:18-21)

พวกเรา เช่นเดียวกับยอห์นผู้ให้บัพติศมา ควรยื่นมือไปช่วยผู้คนให้กลับใจจากบาปและมามีความเชื่อในพระเยซูคริสต์ สิ่งนี้คือการเตรียมมนุษย์ให้พร้อมสำหรับการเสด็จกลับมาของพระเยซู กลับมาเพื่อพิพากษาตามที่ยอห์นสัญญาไว้ว่าจะเกิดขึ้น:

บัดนี้ขวานวางไว้ที่โคนต้นไม้แล้ว และทุกต้นที่ไม่เกิดผลดีจะต้องตัดแล้วโยนทิ้งในกองไฟ เราให้เจ้าทั้งหลายรับบัพติศมาด้วยน้ำ แสดงว่ากลับใจใหม่ก็จริง แต่พระองค์ผู้จะมาภายหลังเรา ทรงมีอิทธิฤทธิ์ยิ่งกว่าเราอีก ซึ่งเราไม่คู่ควรแม้จะถอดฉลองพระบาทของพระองค์ พระองค์จะทรงให้เจ้าทั้งหลาย รับบัพติศมาด้วยพระวิญญาณบริสุทธิ์และด้วยไฟ พระหัตถ์ของพระองค์ถือพลั่วพร้อมแล้ว และจะทรงชำระลานข้าวของพระองค์ให้ทั่ว พระองค์จะทรงเก็บข้าวของพระองค์ไว้ในยุ้งฉาง แต่พระองค์จะทรงเผาแกลบด้วยไฟที่ไม่รู้ดับ” (มัทธิว 3:10-12)

ในเวลาเมื่อมนุษย์ยังไร้เดียงสา พระเจ้ามิได้ทรงถือโทษ แต่เดี๋ยวนี้ พระเจ้าได้ตรัสสั่งแก่มนุษย์ทั้งปวงทั่วทุกแห่งให้กลับใจใหม่ เพราะพระองค์ได้ทรงกำหนดวันหนึ่งไว้ ในวันนั้นพระองค์จะทรงพิพากษาโลกตามความชอบธรรม โดยมนุษย์ผู้นั้นซึ่งพระองค์ได้ทรงเลือกไว้ และพระเจ้าได้ทรงโปรดให้คนทั้งปวงมีความแน่ใจในเรื่องนี้ โดยทรงให้มนุษย์ผู้นั้นคืนชีวิต” (กิจการ 17:30-31)

“ข้าแต่กษัตริย์อากริปปา เมื่อเป็นเช่นนั้นแล้ว ข้าพระบาทจึงเชื่อฟังนิมิต ซึ่งมาจากสวรรค์นั้น และมิได้ขัดขืน แต่ข้าพระบาทได้กล่าวสั่งสอนเขา ตั้งต้นที่เมืองดามัสกัส และในกรุงเยรูซาเล็ม ทั่วแว่นแคว้นยูเดียและแก่ชาวต่างประเทศ ให้เขากลับใจใหม่ ให้หันมาหาพระเจ้า และกระทำการซึ่งสมกับที่กลับใจใหม่แล้ว” (กิจการ 26:1-20)

เดี๋ยวนี้คำว่าสำนึกผิดกลับใจไม่ค่อยมีใครนำมาเทศนา ไม่นานมานี้ผมดีใจมากที่ได้ยินบิลลี่ เกรแฮม เรียกร้องให้หญิงและชายสำนึกผิดกลับใจ มาเชื่อในพระเยซูในงานประกาศที่ดัลลัส เท็กซัส หันกลับมาหาพระเยซูเพื่อรับความรอดคือต้องหันเสียจากบาปที่เคยทำ บ่อยครั้งการพยายามทำให้ข่าวประเสริฐน่าลิ้มลอง การกลับใจจึงถูกข้ามไป ลดความสำคัญลง หรือถึงขั้นตัดทิ้ง บางครั้งการนำเสนอข่าวประเสริฐเหมือนกับนำพระราชกิจของพระเยซูใส่เพิ่มเข้า ไปกับแฟ้มส่วนตัวของคุณ เหมือนกับลงทุนเพิ่มอีกตัว ไม่มีการตัดอะไรทิ้ง ความจริงคือคุณต้องเปิดแฟ้มเอาของเก่าทิ้งไป (ไว้ใจในสิ่งอื่นที่ไม่ใช่พระเยซูคริสต์) แล้วให้พระคริสต์เข้ามาเติมเต็ม เศรษฐีหนุ่มไม่มีตัวเลือกให้เก็บความมั่งคั่งไว้ (ซึ่งคือพระของเขา) ดูมัทธิว 6:19-34; 19:16-22 เขาต้องสละทุกสิ่งเพื่อติดตามพระเยซู ถ้าเราจะประกาศข่าวประเสริฐ เราต้องไม่ลืมเรื่องการกลับใจ และความเชื่อด้วย สององค์ประกอบนี้ไม่ได้ค้านกัน แต่เป็นสองด้านของเหรียญเดียวกัน

คำประกาศของยอห์นเตือนเราถึงบทบาทสำคัญของธรรมบัญญัติ เหมือนนำร่องสู่พระกิตติคุณ ขณะที่พระคุณอยู่ตรงข้ามกับธรรมบัญญัติ (ดูโรม 4:16; 6:14; 7:6; กาลาเทีย 2:22; 5:1-4) แต่ธรรมบัญญัตินั้นชี้ไปที่พระคุณ:

ก่อนที่ความเชื่อมานั้น เราถูกธรรมบัญญัติกักตัวไว้ ถูกกั้นเขตไว้จนความเชื่อจะปรากฏ เพราะฉะนั้นธรรมบัญญัติจึงควบคุมเราไว้จนพระคริสต์เสด็จมา เพื่อเราจะได้เป็นคนชอบธรรมโดยความเชื่อ แต่บัดนี้ความเชื่อนั้นได้มาแล้ว เราจึงมิได้อยู่ใต้บังคับของผู้ควบคุมอีกต่อไปแล้ว (กาลาเทีย 3:23-25)

ธรรมบัญญัติเตรียมเราไว้สำหรับพระคุณ โดยเปิดเผยให้เห็นความบาปของเราเอง และไม่สามารถที่จะเอาใจพระเจ้าโดยการกระทำดี ดังนั้นธรรมบัญญัติจึงเป็นสิ่งที่ทำให้เรามองไปที่พระเจ้าเพื่อความรอดโดย พระคุณ ไม่ใช่ด้วยตัวเราเอง:

เรารู้แล้วว่า ธรรมบัญญัติทุกข้อที่ได้กล่าวนั้น ก็ได้กล่าวแก่คนเหล่านั้นที่อยู่ใต้ธรรมบัญญัติ เพื่อปิดปากทุกคน และเพื่อให้มนุษย์ทุกคนในโลกอยู่ใต้การพิพากษาของพระเจ้า เพราะว่าในสายพระเนตรของพระเจ้าไม่มีผู้หนึ่งผู้ใดเป็นคนชอบธรรม โดยการประพฤติตามธรรมบัญญัติได้ เพราะว่าธรรมบัญญัตินั้นทำให้เรารู้จักบาปได้ แต่บัดนี้ได้ปรากฏแล้วว่า ความชอบธรรมซึ่งมาจากพระเจ้านั้นปรากฏนอกเหนือกฎบัญญัติ ธรรมบัญญัติกับพวกผู้เผยพระวจนะเป็นพยานอยู่ คือความชอบธรรมของพระเจ้า ซึ่งทรงประทานโดยความเชื่อในพระเยซูคริสต์ แก่ทุกคนที่เชื่อ เพราะว่าคนทั้งหลายไม่ต่างกัน เพราะว่าทุกคนทำบาป และเสื่อมจากพระสิริของพระเจ้า แต่พระเจ้าทรงพระกรุณาให้เขาเป็นผู้ชอบธรรม โดยไม่คิดมูลค่า โดยที่พระเยซูคริสต์ทรงไถ่เขาให้พ้นบาปแล้ว (โรม 3:19-24)

เฟรเดอริค บรูเนอร์พูดไว้ในทำนองนี้ :
“ไม่มีพระบัญญัติ ก็ไม่มีพระกิตติคุณ (ไม่มีพระคัมภีร์เดิม ก็ไม่มีพระคัมภีร์ใหม่) และไม่มียอห์นผู้ให้บัพติศมา เรื่องการเสด็จมาของพระเมสซิยาห์ก็อาจประกาศไปไม่ถูกต้อง ดังนั้นไม่มีเรื่องบังเอิญ พระกิตติคุณทั้งสี่เล่มบันทึกงานของยอห์นผู้ให้บัพติศมาว่าเป็นผู้มาเตรียม ทางให้พระคริสต์ ยอห์นเป็นสาระสำคัญในเรื่องราวของพระเยซู ไม่ใช่แค่คนที่มาก่อน ที่จริงพระกิตติคุณยอห์น “ย้อนประวัติศาสตร์แห่งความบริสุทธิ์กลับมาอีกครั้ง” (Bonn., 31) หลังจากความเงียบที่ยาวนาน ยอห์นปรากฎมาเหมือนมหาปุโรหิตผู้ยิ่งใหญ่คนสุดท้ายของหนังสือฮีบรู และเหมือนพระบัญญัติของพระเจ้าที่มีชีวิตและเคลื่อนไหว เต็มด้วยหายนะและความบริสุทธิ์ และที่สุดของทุกสิ่ง ยอห์นผู้ให้บัพติศมาเป็นผู้นำหน้าพระคัมภีร์ใหม่สี่ครั้ง (จากพระกิตติคุณสี่เล่ม) เมื่อนำพระบัญญัติของพระเจ้ามาอยู่ข้างหน้าเราถึงสี่ครั้ง เรื่องการเสด็จมาของพระเยซูพร้อมกับข่าวประเสริฐก็สี่ครั้งเหมือนกัน ยอห์นคือพระบัญญัติของพระเจ้าในภาพบุคคล พระเยซูก็คือพระกิตติคุณของพระเจ้าในพระบุคคลเช่นกัน”8

ยอห์นผู้ให้บัพติศมาเป็นผู้เผยพระวจนะคนสุดท้ายของพระคัมภีร์เดิม ท่านไม่ได้ชักชวนมนุษย์ให้ “พยายามทำให้มากขึ้น” เพื่อเอาใจพระเจ้า แต่ให้สารภาพบาปของตน และเข้ามาวางใจในพระเมสซิยาห์ที่กำลังเสด็จมาช่วยให้รอด ถ้ามนุษย์จะได้รับความรอด พวกเขาต้องมองตัวเองให้เห็นว่าเป็นคนบาป ตกอยู่ภายใต้คำแช่งสาปของพระบัญญัติ หน้าที่ของพระบัญญัติคือประณามเราที่เป็นคนบาป และจำเป็นต้องได้รับพระคุณที่สุด ขอให้เราระวังที่จะไม่เหวี่ยงพระบัญญัติทิ้งไปราวกับหมดความหมาย ยังมีบทบาทที่เราต้องทำตาม9 หนึ่งในนั้นคือมองไปที่มาตรฐานความ ชอบธรรมของพระเจ้า มาตรฐานที่มนุษย์ไม่มีวันทำได้ ให้เราใช้พระบัญญัตินี้เพื่อเปิดเผยให้เห็นความบาปของเราเอง แน่นอนพระบัญญัติสิบประการกล่าวประณามและตัดสินพวกเราทุกคน ยอห์นพูดจากพระบัญญัติเพื่อเปิดเผยให้เห็นความบาปของมนุษย์ และแสดงให้เห็นว่าพระเยซูคือพระเมสซิยาห์ตามที่พระบัญญัติสัญญาไว้ว่าจะ เสด็จมา

ผมขอเจาะจงว่าผู้เป็นพ่อแม่สามารถนำพระบัญญัตินี้มาใช้สอนลูกๆได้ พวกเขาสามารถใช้พระบัญญัติเพื่อให้ลูกๆเห็นว่าเด็กๆเองก็เป็นคนบาปจำเป็น ต้องได้รับความรอดในพระเยซูคริสต์และสิ่งที่พระองค์ทำบนไม้กางเขนที่เนินหัว กระโหลก บ่อยครั้งเรานำเรื่องตื่นเต้นจากพระคัมภีร์เดิมมาเล่าให้เด็กๆฟัง เช่น “โยนาห์กับปลามหึมา” หรือ “ดาเนียลในถ้ำสิงห์” ซึ่งไม่ใช่เป็นเรื่องเลวร้าย แต่บ่อยครั้งการนำมาใช้ไม่ได้ชี้ให้เด็กๆเห็นถึงความบาปของตนเอง และความบริสุทธิ์ของพระเจ้า ที่จริงบางคนเห็นว่าการนำพระวจนะมาใช้เป็นการเสริมสร้าง “คุณค่าในตัวเอง” ให้เด็กๆด้วยซ้ำ เด็กๆไม่จำเป็นต้องรู้สึกว่าตนเองดีพอ พวกเขาจำเป็นต้องตระหนักว่าเป็นคนบาป ไม่อาจยืนจำเพาะพระพักตร์ของพระเจ้าผู้บริสุทธิ์ได้ พวกเขาจำเป็นต้องมองเห็นบาปของตัวเอง และรู้ว่าตนเองต้องได้รับความรอด สิ่งที่ยอห์นประกาศออกไป (ยังไม่รวมถึงสิ่งที่พระเยซูและพวกสาวกประกาศ) คือสิ่งที่เด็กๆจำเป็นต้องได้ยินด้วยครับ
พ่อแม่ที่ไม่สอนวินัยให้ลูกก็กำลังทำร้ายลูกตัวเองอย่างรุนแรง เราต้องแก้ไขประพฤติกรรมและความคิดของเด็กๆ ไม่ใช่ทำเป็นมองไม่เห็นหรือหาข้อแก้ตัวแทน เด็กๆจะต้องเรียนรู้จาก “ประสบการณ์” ว่าความบาปมีผลที่ต้องรับโทษ พวกเขาต้องเห็นว่าตัวเองก็ทำบาป และเมื่อมองเห็นบาปของตัวเอง สิ่งที่ยอห์นประกาศจะเป็นถ้อยคำหวานหูสำหรับพวกเขา เมื่อพระเจ้านำให้พวกเขาสำนึกผิดและกลับใจ การที่ไม่สามารถ (หรือปฏิเสธ) ลงวินัยเด็กๆก็เท่ากับเป็นการปฏิเสธพระกิตติคุณที่กล่าวว่ามนุษย์ทุกคนเป็น คนบาป ต้องได้รับความรอดจากพระเจ้าโดยทางพระเยซูคริสต์

ทั้งคำพูดและการกระทำของยอห์นเน้นไปที่ความสำคัญของพิธีบัพติศมาของ คริสเตียน ผมเรียนรู้ว่าบัพติศมาของยอห์นเป็นการเตรียมความพร้อม และเมื่อผู้ติดตามยอห์นกลับใจมาเป็นคริสเตียน พวกเขาต้องรับบัพติศมาอีกครั้ง แต่บัพติศมาเป็นส่วนสำคัญในคำพูดและการกระทำของยอห์น คนที่กลับใจจริงจะรับบัพติศมา (มัทธิว 3:11; มาระโก 1:5) คนไม่สำนึกก็ไม่กลับใจ (ลูกา 7:30) คนที่ติดตามพระเยซูคริสต์ก็จะรับบัพติศมา (มัทธิว 28:19; ยอห์น 3:22, 26; 4:1; กิจการ 2:38, 41; 8:12, 38; 10:47; 19:35) บัพติศมาจึงเป็นสัญลักษณ์ของการกลับใจและความเชื่อ ปัจจุบันคนที่ยังไม่รับบัพติศมาควรถามตัวเองว่า “ทำไม” ถึงไม่รับ?

คำเทศนาของยอห์นที่จริงแล้วเป็น “เทศนาพยากรณ์” ผมอยากบอกว่าแม้คำเทศนาพยากรณ์ของยอห์นนั้นจะโดดเด่น แต่มีบางสิ่งที่สอนเราเรื่องคำเทศนา สิ่งที่ยอห์นประกาศมาจากพระวจนะโดยตรง สิ่งแรกที่ท่านชี้ให้เห็นคือความบาปของมนุษย์ และชี้ไปที่ความรอดของพระเจ้าในองค์พระเยซูคริสต์ ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นถ้อยคำที่เป็นมิตรนัก เป้าหมายไม่ใช่สร้างความเพลิดเพลินเพื่อให้มนุษย์ยอมรับ แต่เป็นเป้าหมายที่ตีแผ่ความบาปของมนุษย์ และความจำเป็นที่ต้องมีพระเจ้า ถ้าถามให้ท่านเจาะจงลงไป ท่านยกตัวอย่างให้เห็นได้ (เช่นจากในลูกา) ในพระกิตติคุณมัทธิว ยอห์นผู้ให้บัพติศมามุ่งเน้นไปที่ความบาปและความชอบธรรมตามที่ผู้นำศาสนาคิด ขณะที่พระเยซูคริสต์นุ่มนวลกว่าเมื่อเทียบกับถ้อยคำที่ยอห์นใช้ แต่พระองค์ก็ไม่อ้อมค้อมเรื่องความบาป ความชอบธรรม และการพิพากษา (ยอห์ น 6:8-11) ยังจำเป็นที่ต้องสำนึกผิดกลับใจ ขณะยอห์นเป็นบุคคลที่มีเอกลักษณ์ และมีบทบาทที่โดดเด่นในสมัยของท่าน ท่านยังเป็นบุคคลที่สอนเรามากมายถึงการประกาศความจริง

เวลาอ่านเรื่องของยอห์นผมแน่ใจว่าพวกเราส่วนใหญ่คิดว่าท่านออกจะประหลาด แน่นอนท่านมีเอกลักษณ์ และนี่อาจเป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ผู้คนสนใจ แม้ท่านจะไม่ได้ทำอัศจรรย์ใดๆ (ยอห์น 10:41) ที่แน่ๆท่านเป็นแบบอย่างของคนที่ “ปลีกตัว” ออกมาในแบบที่ดึงดูดความสนใจ สำหรับเราไม่จำเป็นต้องไปใส่เสื้อขนสัตว์ หรือไปอาศัยในถิ่นทุรกันดาร หรือกินตั๊กแตนน้ำผึ้งป่า แต่เราถูกเรียกให้มาเป็นคนที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น แตกต่างจากโลกนี้ ยอห์นเป็นบุคคลที่รู้ว่าจะยืนหยัดลำพังได้อย่างไร เป็นสิ่งที่พวกเราส่วนใหญ่รู้น้อยมาก
ขอให้เราเรียนรู้ที่จะอยู่ในโลกนี้ แต่ไม่เอนไปตามวิถีของโลก ให้เราแสวงหาการเตรียมชายและหญิงให้พร้อมรับการเสด็จกลับมาครั้งที่สองของ พระเยซู โดยสอนเรื่องความบาป เรียกร้องให้มีการสำนึกผิดกลับใจ หันกลับมาหาพระเยซูเพื่อรับความรอด ขอให้เราเป็นเหมือนท่านยอห์น คือชื่นชมยินดีเมื่อได้ชี้ทางให้ผู้คนไปหาพระคริสต์ แทนที่จะเรียกร้องความสนใจให้มาอยู่แต่ที่ตัวเอง

โดย : Robert L (Bob) Deffinbaugh

ได้รับอนุญาตและเป็นลิขสิทธิของ https://bible.org/

แปล : อรอวล ระงับภัย (Church of Joy)


1 บทเรียนต่อเนื่องบทนี้ปรับจากต้นฉบับเดิมของพระกิตติคุณมัทธิวบทเรียนที่ 4 จัดทำโดย อ. Robert L. Deffinbaugh วันที่ 9 มีนาคม 2003.

2 นอกจากที่กล่าวไปแล้ว พระวจนะที่นำมาอ้างอิงทั้งหมดมาจาก NET Bible (The NEW ENGLISH TRANSLATION) เป็น ฉบับแปลใหม่ทั้งหมด ไม่ใช่นำฉบับเก่าในภาษาอังกฤษมาเรียบเรียงใหม่ ใช้ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการพระคัมภีร์มากกว่า ยี่สิบคน รวบรวมข้อมูล ทั้งจากภาษาฮีบรูโดยตรง ภาษาอาราเมข และภาษากรีก โครงการแปลนี้เริ่มมาจากที่เราต้องการนำ พระคัมภีร์ เผยแพร่ผ่านสื่ออีเลคโทรนิค เพื่อรองรับการใช้งานทางอินเตอร์เน็ท และซีดี (compact disk) ที่ใดก็ตามในโลก ที่ต่อเข้าอินเตอร์เน็ทได้ ก็สามารถเรียกดู และพริ้นทข้อมูลไว้เพื่อใช้ศึกษาเป็นการส่วนตัวได้โดยไม่คิดมูลค่า นอกจากนี้ ผู้ใดก็ตาม ที่ต้องการนำข้อมูลเกี่ยวกับพระคัมภีร์ไปเผยแพร่ต่อโดยไม่คิดเงิน สามารถทำได้จากเว็บไซด์ : www.netbible.org

3 ผมตระหนักว่าเพราะพระเยซูและยอห์นเป็นญาติกัน (ลูกา 1:36) หลายคนเลยคิดว่ายอห์นรู้ว่าพระเยซูเป็นพระเมสซิยาห์ตั้งแต่เด็ก แต่คำพูดของยอห์นผู้ให้บัพติศมาเองทำให้หมดข้อสงสัย เราจึงเชื่อตามที่ยอห์นพูด

4 ในมัทธิว 11:9-14 จะเห็นว่าพระเยซูโยงงานของยอห์นผู้ให้บัพติศมาเข้ากับพันธกิจของเอลียาห์ อย่างชัดเจนโดยอ้างจากมาลาคี 3:1 (ดูมาลาคี 4:5 ด้วย) ทูตของพระเจ้าบอกเศคาริยาห์ว่าลูกที่จะเกิดจากท่านและนางเอลีซาเบธ เขาจะนำหน้าพระองค์โดยน้ำใจและ ฤทธิ์เดชของเอลียาห์ ให้พ่อกลับคืนดีกับลูก และคนดื้อด้านให้กลับได้ปัญญา ของคนชอบธรรม เพื่อจัดเตรียมชนชาติหนึ่งไว้ให้สมแก่พระเจ้า (ลูกา 1:17)

5 นี่หมายถึงอาหารด้วยเหมือนกัน คนที่มีอาหารควรแบ่งปันคนที่ขาดแคลน (ลูกา 3:11)

6 เปรียบเทียบกับ ฟีลิปปี 3:5

7 Fredrick Dale Bruner, The Christbook: A Historical/Theological Commentary (Waco, Texas: Word Books, 1987), vol. 1, p. 71.

8 Fredrick Dale Bruner, The Christbook: A Historical/Theological Commentary (Waco, Texas: Word Books, 1987), vol. 1, p. 70.

9 ดูตัวอย่างเช่น โรม 15:4; 1โครินธ์ 9:9; 10:1-13; 2 ทิโมธี 3:16-17

Related Topics: Law

Lesson 1: The Church that Makes an Impact (1 Thessalonians 1:1-2)

Related Media

July 10, 2016

I am often haunted by the thought that if Flagstaff Christian Fellowship ceased to exist this week, our city would not miss us because we have not made much of an impact here. They might wonder why our historic building was empty. Eventually, they would probably turn it into a quaint coffee shop or bar. But they wouldn’t think much about our departure because we have not really changed the life of this city in any obvious way.

But that could not be said of the Thessalonian church. When it began, the hostile opposition dragged some of the new believers before the city officials with the accusation (Acts 17:6), “These men who have upset the world have come here also.” The new church made such an impact, not only in that city, but also in the surrounding region, that people reported back to Paul the dramatic changes that had happened to these believers (1 Thess. 1:7-9). It was not a perfect church—there never has been such—but it is the only church in the New Testament of which Paul speaks as a positive example for other churches (1 Thess. 1:7).

The church had its start sometime in AD 49 or 50, when Paul and his companions, Silas and Timothy, visited this city of about 200,000 people on his second missionary journey. He and Silas had just been unjustly beaten and thrown into jail in Philippi, where God used them to found the first church on European soil. After the earthquake and the conversion of the Philippian jailer, the city officials begged them to leave. So they made their way west along the Egnatian Way, approximately 100 miles to this major city, which was the capital of one of four districts in Macedonia. It enjoyed local autonomy as a Roman colony and was the most prosperous city in Macedonia.

Unlike Philippi, there were enough Jews in Thessalonica to warrant a synagogue. As a visiting rabbi, trained under the renowned Gamaliel, Paul was permitted to speak, which he did for three consecutive Sabbaths (Acts 17:3), “explaining and giving evidence that the Christ had to suffer and rise again from the dead, and saying, ‘This Jesus whom I am proclaiming to you is the Christ.’” As a result, some of the Jews were persuaded, along with many God-fearing Greeks and a number of the leading women (Acts 17:4).

We don’t know exactly how long Paul stayed in Thessalonica. It could have been as short as a month, indicated by the three Sabbaths. Or, the “three Sabbaths” could refer to his ministry in the synagogue only, which was followed by a longer time of preaching to the Gentiles. Paul mentions his example of working at his trade when he was among them (1 Thess. 2:9; 2 Thess. 3:6-9), which probably indicates a longer stay. And he received financial help from the Philippians more than once while he was in Thessalonica (Phil. 4:16), which would have required some time. The depth of doctrinal teaching that Paul reminds them of in this letter seems like too much to cram into a month. And, Paul seems to have designated some men as leaders before he left (1 Thess. 5:12). So perhaps he was there a few months.

But after a while, out of jealousy, the Jews who did not believe formed a mob and set the city in an uproar. They attacked the house of a new believer named Jason, thinking that they would find Paul and his companions inside. When they did not find them, they dragged Jason and some other believers before the city authorities with the charge of welcoming these world-upsetting strangers, who they claimed acted “contrary to the decrees of Caesar, saying that there is another king, Jesus” (Acts 17:7). The officials responded calmly, taking a pledge or bond from Jason and releasing him.

But to avoid further trouble, the church sent Paul and Silas away by night to Berea (Acts 17:10), about 50 miles to the west. Paul found receptive hearts there until some of the unbelieving Thessalonian Jews arrived and stirred up more trouble. Paul then put out to sea for Athens, while Silas and Timothy stayed behind for a while (Acts 17:14), later joining him in Athens. Paul wanted to return to Thessalonica to see how these new converts were doing, but Satan somehow hindered him (1 Thess. 2:18). So he sent Timothy back. Although Acts doesn’t say, Silas may have gone back to Philippi, leaving Paul alone in Athens (1 Thess. 3:1-2).

Both men later rejoined Paul after he had moved to Corinth (Acts 18:1, 5; 1 Thess. 3:6). Timothy brought good news about the believers in Thessalonica, along with a few concerns. So Paul sent him back with 1 Thessalonians, written six months to a year after Paul had left there. Second Thessalonians was written a few months later. The church had probably grown more among the Gentile population than among the Jews (1 Thess. 1:9). Paul expresses his heartfelt thanks to God for their conversion. But because of Timothy’s report of some attacks on Paul from the Jews, Paul felt obligated to defend his conduct and motives when he had been with them (1 Thess. 2:1-12). He also was concerned because the Thessalonians were experiencing ongoing persecution, most of it from the Jews (1 Thess. 2:14-16; 3:3-5). He wanted to make sure that they stood firm.

Also, Timothy had reported to Paul some concerns about the Thessalonians’ confusion over some matters related to the Lord’s return. Some were not working because they thought that Christ’s coming was near (1 Thess. 4:11-12; 2 Thess. 3:6-13). Others were grieving excessively because some of their loved ones had died and they were uncertain what would happen to those who died before the Lord’s return. There was also some confusion about the events surrounding the “day of the Lord.” So much of both 1 & 2 Thessalonians focuses on “last times” issues.

There are several ways to outline any biblical book. John Stott (The Message of 1 & 2 Thessalonians [IVP Academic], p. 20) suggests analyzing the book from the perspective of the church and the gospel. He says that Paul “shows how the gospel creates the church and the church spreads the gospel, and how the gospel shapes the church …” His outline is (ibid.):

  1. Christian evangelism, how the church spreads the gospel (1:1-10)
  2. Christian ministry, how pastors serve both the gospel and the church (2:1-3:13)
  3. Christian behavior, how the church must live according to the gospel (4:1-12)
  4. Christian hope, how the gospel should inspire the church (4:13-5:11)
  5. Christian community, how to be a gospel church (5:12-28).

My outline breaks the book into two parts: Paul’s personal interest in the Thessalonians and his practical instructions for them:

Salutation (1:1)

1. Paul’s personal interest in the Thessalonians (1:2-3:13)

A. His interest shown by his prayers for them (1:2-10)

B. His interest shown by his past conduct with them (2:1-16)

1) He imparted to them not only the gospel, but also his own life (2:1-8)

2) His conduct reinforced the truth of the gospel (2:9-12)

3. As a result, they received his message as the word of God, enabling them to endure persecution (2:13-16).

C. His interest shown by his present concern for them (2:17-3:13)

2. Paul’s practical instructions for the Thessalonians (4:1-5:22)

A. Instructions concerning Christian conduct (4:1-12)

1) Moral purity (4:1-8)

2) Love for the brethren (4:9-12)

B. Instructions concerning deceased Christians (4:13-18)

C. Instructions concerning the Day of the Lord (5:1-11)

D. Instructions concerning conduct in the church (5:12-22)

1) The church’s attitude toward the leaders (5:12-13)

2) The leaders’ ministry toward the church (5:14-15)

3) The church’s practice of joy, prayer, & thankfulness (5:16-18)

4) The church’s practice toward the Spirit, prophecy, and spiritual discernment (5:19-22)

Conclusion (5:23-28): Prayer for their sanctification (5:23); encouragement regarding God’s faithfulness (5:24); Paul’s request for their prayers (5:25); Christian greetings (5:26); public reading of this letter (5:27); and, prayer for the Lord’s grace to be with them (5:28).

It’s difficult to know how much to include in this first message, since after Paul’s salutation, his first sentence goes from verse 2 through verse 5. But there’s too much to cover in those verses. So I’m limiting this message to verses 1-2, where we learn:

The church that makes an impact consists of people transformed by the gospel.

Note two things:

1. The church that makes an impact is a local community of people who are in God the Father and the Lord Jesus Christ through the power of the Holy Spirit.

1 Thessalonians 1:1: “Paul and Silvanus and Timothy, to the church of the Thessalonians in God the Father and the Lord Jesus Christ: Grace to you and peace.” Also, note verse 5a: “for our gospel did not come to you in word only, but also in power and in the Holy Spirit and with full conviction; …” Conspicuously absent from this greeting is Paul’s identification of himself as an apostle, which he uses in all his other letters, except for 2 Thessalonians and Philippians. Apparently he did not feel a need to remind this young church of his apostolic authority.

Paul includes Silas (Silvanus is the Latin form) and Timothy, who were with him at the founding of the church. They may have had some part with Paul in writing this letter, as seen by the frequent use of the first person plural (1 Thess. 1:2, 3. 5. 6, 8, 9; 2:1, 2, etc.), although Paul was mainly responsible for the content. Or, perhaps he included them because of their help in founding the church. Silas was a Jewish believer and gifted prophet whom the apostles in Jerusalem appointed to carry the directives of the Jerusalem Council to Antioch (Acts 15:22-35). Paul chose Silas to accompany him on his second missionary journey after he and Barnabas had a falling out over Mark.

Timothy was a young man from Lystra, who had a Gentile father and a Jewish mother (Acts 16:1-3). He became like a faithful son in the faith to Paul. He accompanied Paul on missionary journeys and Paul sent him on various pastoral assignments. Luke does not mention Timothy in the account of the founding of this church (in Acts 17), but he was with Paul both earlier and later on the same journey. Since Paul includes his name in the salutation, we can assume that he had a part in bringing the gospel to this city.

Paul addresses the letter to “the church of the Thessalonians in God the Father and the Lord Jesus Christ.” The etymology of the Greek word for “church” literally means, “called-out ones,” but it was widely used to refer to various assemblies of people, both religious and secular. It is used a few times to refer to Israel as God’s people (Deut. 4:10; 23:2; Acts 7:38; Heb. 2:12, citing Ps. 22:22; [21:22 in the LXX]). But in the New Testament, it has special reference to the one body of Christ that began on the Day of Pentecost, consisting of born again Jews and Gentiles (Gal. 3:28). In the New Testament, church can be used to describe all Christians everywhere (the universal church) or a local congregation that is usually designated by the city where the believers live.

In The Church: The Gospel Made Visible ([B&H Academic], pp. x, xi), Mark Dever writes,

The church should be regarded as important to Christians because of its importance to Christ. Christ founded the church (Matt. 16:18), purchased it with his blood (Acts 20:28), and intimately identifies himself with it (Acts 9:4). The church is the body of Christ (1 Cor. 12:12, 27; Eph. 1:22-23; 4:12; 5:20-30; Col. 1:18, 24; 3:15), the dwelling place of his Spirit (1 Cor. 3:16-17; Eph. 2:18, 22; 4:4), and the chief instrument for glorifying God in the world (Ezek. 36:22-38; Eph. 3:10). Finally, the church is God’s instrument for bringing both the gospel to the nations and a great host of redeemed humanity to himself (Luke 24:46-48; Rev. 5:9).

The distinctive about Paul’s mention of the church in our text is that it is “in God the Father and the Lord Jesus Christ.” To refer to the church as “in God” rather than the church “of God” is unusual in Paul’s writings (F. F. Bruce, 1 & 2 Thessalonians, Word Biblical Commentary [Thomas Nelson], p. 7). We should probably understand it in the same way as our being “in Christ,” a favorite designation of Paul. It means that we are identified completely with Him. We are organically “in Him” as the branch is in the vine (John 15:1-6). Or, as Paul writes (Col. 3:3), “For you have died and your life is hidden with Christ in God.”

Also, to know God as Father is a distinctive of New Testament Christianity. In his classic, Knowing God ([IVP], p. 181), J. I. Packer asks, “What is a Christian?” He answers, “The question can be answered in many ways, but the richest answer I know is that a Christian is one who has God for his Father.” He adds (p. 182):

You sum up the whole of New Testament teaching in a single phrase, if you speak of it as a revelation of the Fatherhood of the holy Creator. In the same way, you sum up the whole of New Testament religion if you describe it as the knowledge of God as one’s holy Father. If you want to judge how well a person understands Christianity, find out how much he makes of the thought of being God’s child, and having God as his Father. If this is not the thought that prompts and controls his worship and prayers and his whole outlook on life, it means that he does not understand Christianity very well at all.

From the earliest stage of our Christian life, we should know God as our Father. He loves us and cares for us far more than any earthly father ever could.

The fact that Paul mentions “God the Father and the Lord Jesus Christ” under a single preposition shows that he had already taught these new believers, from both Jewish and pagan backgrounds, about the deity of Jesus. To call Jesus “Lord” was to use of Him the Old Testament name, Yahweh, the God of Israel. As Stott says (ibid. p. 27), “Already within twenty years of the death and resurrection of Jesus the coupling of the Father and the Son as equal is the universal faith of the church.” To distinguish God the Father and the Lord Jesus Christ shows that they are two persons. “Lord” refers to His deity; “Jesus” to His humanity; and “Christ” to His office as the promised anointed deliverer of God’s people.

Also, in verses 5 & 6 Paul mentions the Holy Spirit, whose power applied the gospel to the hearts of the Thessalonians, evidenced by their joy in the midst of much persecution. So in his short time with these new believers, Paul had grounded them in the doctrine of the trinity, including the deity of Jesus Christ. The fact that he doesn’t stop here to explain it more carefully shows that he assumed that they would be tracking with him.

Paul also adds, “Grace to you and peace.” “Grace” (charis) is a variation of the normal Greek greeting, charein, meaning “rejoice.” The heart of the gospel is that God’s grace or unmerited favor is extended to sinners. Because Christ paid the penalty for all our sins on the cross, God’s holy justice is satisfied so that He can extend a free pardon to sinners who will receive it. When Moses asked God to reveal His glory, the Lord replied (Exod. 33:18), “I will be gracious to whom I will be gracious, and will show compassion on whom I will show compassion.” To be gracious is who God is!

“Peace” was the normal Hebrew greeting, “Shalom.” We have peace with God because He is gracious to us in Christ, who broke down the barrier of the dividing wall and abolished the decrees that were hostile toward us (Eph. 2:14-15; Col. 2:14).

So the main idea here is that the church is not a building; it’s not an organized religious social club that does good deeds. Rather, the church is a local community of people who are “in God the Father and the Lord Jesus Christ” through the power of the Holy Spirit. It is people transformed by the gospel who now are united to each other and distinct from the world because they all are “in God and in Christ.” That leads to the second idea:

2. The church that makes an impact is the work of God, not of men.

1 Thessalonians 1:2: “We give thanks to God always for all of you, making mention of you in our prayers ….” Why does Paul give thanks to God, rather than commending the Thessalonians for their wise decision to believe in Christ? He gives the answer in verse 4: He thanks God because He chose the Thessalonian believers for salvation. In verse 5 he adds that their salvation through the gospel was due to the power of the Holy Spirit. As Jesus told Nicodemus (John 3), being in God’s kingdom is not a matter of religious observance (as the Pharisees thought), but rather depends on the sovereign working of the Holy Spirit who gives new life.

That’s the consistent teaching of the New Testament. For example, in 1 Corinthians 1:26-31, Paul emphasizes God’s choice of them apart from any human qualifications they possessed:

For consider your calling, brethren, that there were not many wise according to the flesh, not many mighty, not many noble; but God has chosen the foolish things of the world to shame the wise, and God has chosen the weak things of the world to shame the things which are strong, and the base things of the world and the despised God has chosen, the things that are not, so that He may nullify the things that are, so that no man may boast before God. But by His doing you are in Christ Jesus, who became to us wisdom from God, and righteousness and sanctification, and redemption, so that, just as it is written, “Let him who boasts, boast in the Lord.”

We’ll consider this further when we study 1 Thessalonians 1:4, but for now, ask yourself, “Has God changed my heart from unbelief to faith in Jesus Christ? Has He changed my desires from worldly pursuits to seeking first His kingdom and righteousness (Matt. 6:33)? Has He changed my aim from seeking my glory to seeking His glory (1 Cor. 10:31)? Has He changed my focus from wanting to please myself to wanting to please Him (Rom. 15:2-3; Col. 1:10)? Has He changed me from loving darkness and hating the light to loving the light and hating darkness (John 3:19-21)?

In other words, true Christianity is not a moral improvement project that anyone can work on if they set the right goals and use the right methods. Rather, it’s a matter of moving from death to life (Eph. 2:1-6), from blindness to light (John 8:12; 9:1-41), and from hardness to tenderness of heart (Eph. 4:17-24). Only God, through the life-giving power of Holy Spirit, can do that.

Conclusion

Pastor Darrell Gustafson recently wrote (Biblical Counseling Training newsletter, June, 2016), “Counselors, across the US, say that 75% of those coming for counseling think that they are Christians but are not converted.” I think that because of a weak “gospel,” centered on how God can solve your problems and make you happy, rather than on how God has provided a Savior from sin and judgment, there are many in evangelical churches who think they’re saved, but are not. They heard the pitch for an abundant life and prayed to receive Jesus. But they never were convicted of their sins, repented, and truly trusted in Christ. For the church to make an impact, we have to be a church where we all have been transformed by the power of God through the gospel.

We’ll see more of what that means in the rest of 1 Thessalonians 1. But the main thing to answer is, “Has God changed my heart by enabling me to trust in Jesus Christ as my only hope for eternal life?” As Paul wrote (2 Cor. 13:5), “Test yourselves to see if you are in the faith; examine yourselves! Or do you not recognize this about yourselves, that Jesus Christ is in you—unless indeed you fail the test?” If we want to make an impact on our city, our lives must be distinct from those around us. We must have lives that have been transformed by the gospel.

Application Questions

  1. Do you agree that we haven’t made a significant impact on our city? If so, why not? How can we change this?
  2. Obviously, sanctification is a lifelong process. So, how much change is needed to authenticate a persons’ salvation?
  3. Many professing Christians today are not committed to a local church. Why is this? How can we change this?
  4. Paul tells us to examine ourselves as to whether we’re in the faith. But too much introspection can be harmful. Where’s the balance?

Copyright, Steven J. Cole, 2016, All Rights Reserved.

Unless otherwise noted, all Scripture Quotations are from the New American Standard Bible, Updated Edition © The Lockman Foundation

Related Topics: Christian Life, Ecclesiology (The Church)

Preface

Related Media

And the things you have heard me say in the presence of many witnesses entrust to reliable men who will also be qualified to teach others.
2 Timothy 2:2

Paul’s words to Timothy still apply to us today. There is a need to raise up teachers who will correctly handle and fearlessly teach the Word of God. It is with this hope in mind that the Bible Teacher’s Guide (BTG) series has been created. The BTG series includes both expositional studies and topical studies. This guide will be useful for personal devotions, small groups, and for teachers preparing to share God’s Word.

Theology Proper: A Study of God the Father can be used specifically as a nine-week small-group curriculum. Every week, the members of the group will read the chapter, answer the questions, and be prepared to share in the gathering. Because each member will prepare for the small group, this will enrich the discussion and the learning. In the appendices, there are tips on how to run a study group, as well as reflection questions to help each member further prepare and even share responsibility in teaching (see Appendix 1 and 2).

I pray that the Lord may richly bless your study and use it to build his kingdom.

Copyright 2014 Gregory Brown

The primary Scriptures used are New International Version (1984) unless otherwise noted. Other versions include English Standard Version, New Living Translation, and King James Version.

Holy Bible, New International Version ®, NIV® Copyright © 1973, 1978, 1984 by Biblica, Inc.® Used by permission. All rights reserved worldwide.

Scripture quotations marked (ESV) are from The Holy Bible, English Standard Version ® (ESV ®) Copyright © 2001 by Crossway, a publishing ministry of Good News Publishers. All rights reserved.

Scripture quotations marked (NLT) are taken from the Holy Bible, New Living Translation, copyright © 1996, 2004, 2007 by Tyndale House Foundation. Used by permission of Tyndale House Publishers, Inc., Carol Stream, Illinois 60188. All rights reserved.

Scripture quotations marked KJV are from the King James Version of the Bible.

All emphases in Scripture quotations have been added.

The Gifts of the Spirit

Related Media

This material has been adapted from the Spirit-filled Spirituality facet in my book, Conformed to His Image.

Kenneth Boa

Website: http://www.kenboa.org
Commentary: http://www.kenboa.org/blog
Follow: http://twitter.com/kennethboa
Connect on Facebook: Kenneth Boa

 

I. Introduction

God has given each believer a combination of opportunities and gifts that is perfectly suited to his or her situation in life. Every Christian is really a minister with a unique contribution to make to the body of Christ. The central thrust of your ministry depends on the spiritual gifts you have received. In this booklet, we will look at the definition, design, desirability, and description of the gifts of the Spirit. We will also see how to discover and develop spiritual gifts and consider the danger of their abuse and directions for their use.

II. Diversity and Unity in the Body of Christ

When the Holy Spirit descended on the day of Pentecost in Acts 2, a new organism was created. This organism consists of all those who have received the gift of eternal life in Christ Jesus. In Romans 8:14-17, Galatians 4:4-7, and Ephesians 2:19, it is described as a spiritual household or family. By virtue of both adoption and new birth, we have become sons and daughters of God. This organism is also called a holy temple in Ephesians 2:20-22 and 1 Peter 2:4-5, and believers are its living stones. But the most frequently used metaphor for this new creation is the body of Christ (see Rom. 12:4-5; 1 Cor. 12:12-27; Eph. 1:22-23; 3:6; 4:4-16; 5:5:23-30; Col. 1:18; 2:19).

The three major New Testament lists of the gifts are all introduced by a description of the unity and diversity in the body of Christ. Paul's metaphor for the church could not be more appropriate, because both the universal church (all believers) and the local church (geographically localized groups of believers) are unities which are built out of diverse elements. All believers have been baptized by the Holy Spirit into the body of Christ (1 Cor. 12:13). Christ is the head, the ruler of the body (Eph. 1:22; 4:15; Col. 1:18), and believers are the individual members or components. In this analogy, each Christian has been given a special function to perform and the ability to fulfill it in a way that will benefit the other members. There is quantitative and qualitative growth when believers discover and actively use their spiritual gifts. Each part of the body depends on the rest for its well-being, and there are no useless organs. This is why edification through teaching and fellowship is so necessary in the local church. The biblical concept of koinonia or fellowship communicates the fact that isolation leads to atrophy. Just as no organ can function independently of the others, so no Christian can enjoy spiritual vitality in a relational vacuum. The Spirit has sovereignly distributed spiritual gifts to every member of the body, and no single member possesses all the gifts. Thus, growth does not take place apart from mutual ministry and dependence.

The body of Christ is an organism, not a dictatorship or a democracy. As such, the local church is best structured around the distribution and function of the spiritual gifts found in its members.

Exercise: In Ephesians 4:4-16, Paul outlines the role of God-given gifts in the edification of the body. What are the seven points of unity found in verses 4-6? According to 4:7-10, what is the basis for the giving of gifts to the church? Verse 12 speaks of quantitative (corporate) growth, while verse 13 speaks of qualitative (individual) growth. How does 4:11-13 relate to 4:14-16?

III. Definition and Design of Spiritual Gifts

A. Definition

The Greek word most frequently used for spiritual gifts is charismata, a word that relates to the grace (charis) of God. Concerning these gifts, Paul writes, But to each one of us grace was given according to the measure of the gift of Christ (Eph. 4:7 NET Bible). Another word, pneumatikos, means spiritualities, or spiritual things. William McRae defines a spiritual gift as a divine endowment of a special ability for service upon a member of the body of Christ. C. Peter Wagner offers a similar definition: A spiritual gift is a special attribute given by the Holy Spirit to every member of the Body of Christ according to God's grace for use within the context of the Body.

B. Design

Here are twelve principles that relate to God's design for spiritual gifts:

1. Every Christian has one or more spiritual gifts.

To each person the manifestation of the Spirit is given for the benefit of all (1 Cor. 12:7).

It is one and the same Spirit, distributing as he decides to each person, who produces all these

things (1 Cor. 12:11).

But to each one of us grace was given according to the measure of the gift of Christ (Eph. 4:7).

Just as each one has received a gift, use it to serve one another as good stewards of the varied grace

of God. (1 Pet. 4:10).

Spiritual gifts are not limited to a sub-group of believers; they are distributed by the Spirit to all Christian men, women, and children.

2. Many believers have evidently received more than one spiritual gift. Because there is such a variety of gifts, the number of possible combinations is great. Each multi-gifted Christian has received a combination of spiritual abilities that is perfectly suited to his or her God-given ministry.

3. Spiritual gifts may be given at the moment of regeneration, but they may lie undiscovered and dormant for a long period of time. Multi-gifted Christians often discover their combination of gifts through a gradual process.

4. Spiritual gifts can be abused and neglected, but if they are received at regeneration, it would appear that they cannot be lost. The Corinthian church illustrates the fact that believers can be highly gifted but spiritually immature.

5. Spiritual gifts are not the same as the gift of the Spirit. The gift of the Spirit has been bestowed on all believers (John 14:16; Acts 2:38), and every member of the body should appropriate this gift. The gifts of the Spirit, on the other hand, are distributed as he decides to each person (1 Cor. 12:11).

6. Spiritual gifts are not the same as the fruit of the Spirit. Spiritual fruit is produced from within; spiritual gifts are imparted from without. Fruit relates to Christlike character; gifts relate to Christian service. The fruit of the Spirit, especially love, should be the context for the operation of the gifts of the Spirit. Paul made it clear in 1 Corinthians 13 that spiritual gifts without spiritual fruit are worthless. Fruit is eternal, but gifts are temporal (1 Cor. 13:8); the former is a true measure of spirituality, but the latter is not.

7. Spiritual gifts are not the same as natural talents. Unlike the natural abilities which everyone has from birth, spiritual gifts belong exclusively to believers in Christ. In some cases, the gifts of the Spirit coincide with natural endowments, but they transcend these natural abilities by adding a supernatural quality. Both are given by God (Jas. 1:17), and should be developed and used according to their purpose for the glory of God (1 Cor. 10:31).

8. All Christians are called to a ministry, but not all are called to an office. Ministry is determined by divinely given gifts and opportunities (Eph. 3:7). Offices (e.g., elder, deacon, evangelist, and teacher) are humanly recognized and appointed spheres of ministry within the body.

9. Some spiritual gifts are more desirable in the church than others because they result in greater edification of the body. Paul exhorted the Corinthian church to be eager for the greater gifts (1 Cor. 12:31; see 12:28-30; 14:5).

10. Charismata literally means grace-gifts--they are sovereignly and undeservedly given by the Holy Spirit. There is no basis for boasting or envy. Every member of the body has a special place and purpose. Whether more or less prominent in the eyes of men, the same standard applies to all: it is required of stewards that one be found faithful (1 Cor. 4:2). Work with what God has given to you (2 Tim. 1:6), and seek to please Him rather than men (Gal. 1:10; 1 Thess. 2:4).

11. Gifts are God's spiritual equipment for effective service and edification of the body.

They are not bestowed for the self-aggrandizement of the

recipient, or as an evidence of a special enduement of the

Spirit, but for the profit and edification of the Body of

Christ. The possessor is only the instrument and not the

receiver of the glory (J. Oswald Sanders).

Gifts were given so that in everything God will be glorified through Jesus Christ (1 Pet. 4:11).

12. High mobilization of spiritual gifts was the key to the rapid multiplication of the church in the New Testament (cf. Rom. 1:11, Eph. 4:12, 2 Tim. 2:2).

IV. Desirability of the Gifts

It is important that every Christian discover and develop the spiritual gifts that have been bestowed on him or her by God. These gifts are desirable for three basic reasons:

A. You Will Be Satisfied

Knowing and using your gifts will give you an understanding of the unique and indispensable ministry you have been called to accomplish in the body of Christ. You will discover a significant part of your purpose for being on this planet and realize that God has made you competent to produce something that will last for eternity. You will have a sense of fulfillment and joy in the service of others as you become an available instrument through which the Holy Spirit can work.

In addition, knowledge of your spiritual gifts will greatly assist you in discerning and affirming the will of God at various points in your life. God will not call you to accomplish anything without giving you the power and enablement to do it. You will be able to make more intelligent decisions about possible involvement in specific opportunities and training in light of your God-given function in the body (Rom. 12:4). You will also use your time more effectively by focusing on the things you have been equipped to do well rather than expending your energy in areas of minimum potential.

B. Others Will Be Edified

Knowing and using your gifts will lead to the edification of other members of the body of Christ. As you exercise your spiritual gifts, you will play a substantial role in building up other Christians and leading them into maturity (Eph. 4:12-16). If you fail to develop your gifts or let them decline through disuse, your brothers and sisters in Christ will actually be hurt because they will be deprived of the unique ministry that only you could perform in their lives.

C. God Will Be Glorified

According to 1 Peter 4:10-11, your spiritual gifts are ultimately designed to bring glory to God. This is your highest calling, and it relates to all three Persons of the Godhead. As you use your spiritual gifts in conjunction with the power and fruit (especially love) of the Holy Spirit and in the name and Lordship of Jesus Christ, the Father receives the glory.

Digging for the Gifts

Romans 12, 1 Corinthians 12-14, and Ephesians 4 are the three primary biblical passages on spiritual gifts. 1 Peter 4:8-11 provides supplementary information on this vital subject. Before moving to the next section, use this chart to list the gifts you find in these passages. Then ask yourself these questions:

--What is the nature of each of these gifts?

--Are all of these gifts present in the church today?

--Are there any other gifts that are not mentioned in this list?

V. Description of the Gifts

A spiritual gift is a manifestation of the Spirit … given for the benefit of all (1 Cor. 12:7). As a supernatural endowment, its source is always the Holy Spirit, and its purpose is the building up of others to the glory of God.

A. The Gifts in Romans 12, 1 Corinthians 12, and Ephesians 4

1. Prophecy (Rom. 12:6; 1 Cor. 12:10, 28-29; 14:1-40; Eph. 4:11)--The ability to receive and proclaim a message from God. This could involve the foretelling of future events, though its primary purpose as seen in 1 Corinthians 14:3 is forthtelling: one who prophesies speaks to people for their strengthening, encouragement, and consolation. This gift provides a word from God to a specific group, not the normative Word of God to all believers. Some maintain that prophecy is still operative in this sense today, while others say that the nearest current equivalent is Spirit-empowered preaching.

2. Service (Rom. 12:7)--The ability to identify and care for the physical needs of the body through a variety of means. The Greek word for this gift is the same as that for ministry or deacon, but the gift should not be confused with the office.

3. Teaching (Rom. 12:7; 1 Cor. 12:28-29; Eph. 4:11)--The ability to clearly explain and effectively apply the truths of God's Word so that others will learn. This requires the capacity to accurately interpret Scripture, engage in necessary research, and organize the results in a way that is easily communicated.

4. Exhortation (Rom. 12:8)--The ability to motivate others to respond to the truth by providing timely words of counsel, encouragement, and consolation. When this gift is exercised, believers are challenged to stimulate their faith by putting God's truth to the test in their lives.

5. Giving (Rom. 12:8)--The ability to contribute material resources with generosity and cheerfulness for the benefit of others and the glory of God. Christians with this spiritual gift need not be wealthy.

6. Leadership (Rom. 12:8)--The ability to discern God's purpose for a group, set and communicate appropriate goals, and motivate others to work together to fulfill them in the service of God. A person with this gift is effective at delegating tasks to followers without manipulation or coercion.

7. Mercy (Rom. 12:8)--The ability to deeply empathize and engage in compassionate acts on behalf of people who are suffering physical, mental, or emotional distress. Those with this gift manifest concern and kindness to people who are often overlooked.

8. Wisdom (1 Cor. 12:8)--The ability to apply the principles of the Word of God in a practical way to specific situations and to recommend the best course of action at the best time. The exercise of this gift skillfully distills insight and discernment into excellent advice.

9. Knowledge (1 Cor. 12:8)--The ability to discover, analyze, and systematize truth for the benefit of others. With this gift, one speaks with understanding and penetration. Some also associate supernatural perception with this gift.

10. Faith (1 Cor. 12:9)--The ability to have a vision for what God wants to be done and to confidently believe that it will be accomplished in spite of circumstances and appearances to the contrary. The gift of faith transforms vision into reality.

11. Healing (1 Cor. 12:9, 28, 30)--The ability to serve as a human instrument through whom God supernaturally cures illnesses and restores health. The possessor of this gift is not the source of power, but a vessel who can only heal those diseases the Lord chooses to heal. Inner healing, or healing of memories is sometimes associated as another manifestation of this gift.

12. Miracles (1 Cor. 12:10, 28, 29)--The ability to serve as an instrument through whom God accomplishes acts that manifest supernatural power. Miracles bear witness to the presence of God and the truth of His proclaimed Word, and appear to occur most frequently in association with missionary activity.

13. Distinguishing of spirits (1 Cor. 12:10)--The ability to clearly discern the spirit of truth and the spirit of error (cf. 1 John 4:6). With this gift, one can distinguish reality versus counterfeits, the divine versus the demonic, true versus false teaching, and in some cases, spiritual versus carnal motives.

14. Tongues (1 Cor. 12:10, 28, 30; 14:1-40)--The ability to receive and impart a spiritual message in a language the recipient never learned. For other members of the body to be edified, this message must be interpreted either by the recipient (1 Cor. 14:13) or by another person with the gift of interpretation (1 Cor. 14:26-28).

Because of the controversial nature of this gift, here are several observations:

a. Paul qualified the public use of this gift, stating that in a meeting of the church, two or at

the most three could speak in a tongue, it must be done in turn, and a person with the

gift of interpretation must be present so that the body would be edified (1 Cor. 14:26-

28).

b. There are a number of differences between the manifestation of tongues at Pentecost

(Acts 2:1-13) and its use in Corinth (1 Cor. 14), and these differences suggest that

the two are not identical (see J. Oswald Sanders, The Holy Spirit and His Gifts, p. 125).

c. In his list of spiritual gifts in 1 Corinthians 12:28, Paul spoke of kinds of tongues.

This, coupled with the statements in 1 Corinthians 14:2, 4, 14-15, 28 has led many to

distinguish a private use of tongues, often called a prayer language (1 Cor. 14:14-15),

from the public use of tongues which must be interpreted. Paul wrote that if there is no

interpreter, he should be silent in the church. Let him speak to himself and to God (1

Cor. 14:28).

d. This gift is easily counterfeited and often abused. It can be a source of spiritual pride,

excessive preoccupation, and divisiveness.

e. Contrary to some teaching, tongues are not the only sign of the filling of the Spirit, and

not all believers are to manifest this gift (1 Cor. 12:17-19,30).

15. Interpretation of tongues (1 Cor. 12:10, 30; 14:5, 13, 26-28)--The ability to translate into the vernacular a message publicly uttered in a tongue. This gift may be combined with the gift of tongues (1 Cor. 14:13), or it can operate separately (1 Cor. 14:26-28).

16. Apostleship (1 Cor. 12:28,29; Eph. 4:11)--In the New Testament, the apostles were not limited to the Twelve, but included Paul, Barnabas, Andronicus, Junias, and others as well (Acts 14:14; Rom. 16:7; 1 Cor. 15:5,7; 1 Thess. 2:6). If the requirement for the office of apostle includes having seen the resurrected Jesus (Acts 1:22; 1 Cor. 9:1), this office ceased to exist by the second century. However, many believe that the gift of apostleship continues to be given. As a spiritual gift, this is the ability to begin and/or to oversee new churches and Christian ministries with a spontaneously recognized authority.

17. Helps (1 Cor. 12:28)--The ability to enhance the effectiveness of the ministry of other members of the body. This is the only usage of this word in the New Testament, and it appears to be distinct from the gift of service. Some suggest that while the gift of service is more group-oriented, the gift of helps is more person-oriented.

18. Administration (1 Cor. 12:28)--This word, like helps, appears only one time in the New Testament, and it is used outside of Scripture of a helmsman who steers a ship to its destination. This suggests that the spiritual gift of administration is the ability to steer a church or Christian organization toward the fulfillment of its goals by managing its affairs and implementing necessary plans. A person may have the gift of leadership without the gift of administration.

19. Evangelism (Eph. 4:11)--The ability to be an unusually effective instrument in leading unbelievers to a saving knowledge of Christ. Some with this gift are most effective in personal evangelism, while others may be used by God in group evangelism or cross-cultural evangelism.

20. Shepherd or pastor (Eph. 4:11)--Peter was commissioned by Christ to shepherd His sheep (John 21:16), and Peter exhorted the elders in the churches of Asia Minor to do the same (1 Pet. 5:2; cf. Acts 20:28). A person with this spiritual gift has the ability to personally lead, nourish, protect, and care for the needs of a flock of believers. Not all people with the office of pastor (elder, overseer) have or need the gift of pastoring or shepherding, and many with this gift do not have or need the office.

B. Other Gifts

None of the lists in Romans 12, 1 Corinthians 12, and Ephesians 4 is complete, and it is evident that there are other spiritual gifts apart from those listed above. C. Peter Wagner in Your Spiritual Gifts suggests seven others: celibacy (the ability to enjoy being single and maintain sexual self-control; 1 Cor. 7:7-9); voluntary poverty (the ability to renounce material comfort and adopt a life-style of relative poverty; 1 Cor. 13:3); martyrdom (the ability to display an attitude of joy while suffering or even dying for the faith; 1 Cor. 13:3); hospitality (the ability to welcome and provide for those in need of food and lodging; Rom. 12:13; 1 Pet. 4:9); missionary (the ability to minister effectively in a second culture); intercession (the ability to pray for a long period of time on a regular basis for the ministries and needs of others); and exorcism (the ability to discern and cast out demons with authority). Other spiritual gifts (e.g., music, craftsmanship) are also given to members of the body of Christ for mutual edification.

C. Combinations and Variations of Gifts

Many if not all believers have combinations of two or more spiritual gifts. Some combinations are unusual, while others are commonly combined. Gifts that work together include shepherd (pastor)-teaching, leadership-administration, evangelism-teaching, tongues-interpretation, and discernment-exorcism. In addition, Paul distinguishes three parameters in 1 Corinthians 12:4-6: gifts (charismaton), ministries (diakonion), and effects (energematon). In Body Life (pp. 40-41), Ray Stedman links gifts to the Spirit, saying that a gift is a specific capacity or function; he links ministries to Jesus, saying that a ministry is the sphere in which a gift is performed; and he links effects or energizings to the Father, saying that an energizing is the degree of power by which a gift is manifested or ministered on a specific occasion. There are not only variations in the gifts and gift-combinations, but also in the spheres and manifestations of gifts. For example, there are many variations in the spiritual gift of teaching. Some are more effective with small groups, others with large groups; some can effectively communicate with youth, while others are best at teaching adults.

D. Classification of Gifts

Perhaps the best classification of spiritual gifts emerges from 1 Peter 4:10-11:

Just as each one has received a gift, use it to serve one another as good stewards of the varied grace of God. Whoever speaks, let it be with God’s words. Whoever serves, do so with the strength that God supplies, so that in everything God will be glorified through Jesus Christ. To him belong the glory and the power forever and ever. Amen.

These verses imply a twofold classification: (1) speaking gifts (ministry of the Word), and (2) serving gifts (ministry of practical service).

Exercise: Classify all the gifts listed above according to this distinction. Do any of them overlap? Before looking ahead, can you think of other ways of classifying the gifts?

E. Debate Over the Gifts

Some of the gifts like prophecy, miracles, healing, tongues, and interpretation are the subject of considerable controversy. The vast majority of Christians are charismatics in the sense that they believe in the exercise of spiritual gifts (charismata). But in another sense, not all believers are charismatics; those who describe themselves by this term believe that all the gifts are still given today, while non-charismatics believe that the controversial gifts mentioned above have ceased. The latter generally make a distinction between sign gifts and edification gifts. Sign gifts, they say, served their purpose in the first century by attesting to the authority of the apostles and their divinely-inspired message. Once the New Testament canon was complete, miraculous gifts were no longer necessary, and they gradually disappeared from the church. Hebrews 2:3-4, for example, is used by non-charismatics to imply that signs and wonders had already ceased by the time of the second generation of Christians. Some also build a case for the cessation of sign gifts from 1 Corinthians 13:8-10.

Charismatics generally maintain that while these gifts declined in the early church, they did not disappear. They also contend that the non-charismatic argument from 1 Corinthians 13:8-10 is not conclusive, because the perfect may refer to the second advent of Christ rather than the completion of the canon of Scripture. In addition, they say that the gifts of prophecy, miracles, healing, tongues, and interpretation are not merely for signs, but also for edification.

There are also differences of opinion even within the charismatic and the non-charismatic camps. Charismatics, for example, do not all agree on the role of tongues and the filling of the Spirit.

Exercise: Study 1 Corinthians 13:8-13 and develop your own perspective on the meaning of this passage. What do you think is the primary purpose of 1 Corinthians 13 in the broader context of chapters 12-14?

VI. Discovering Your Spiritual Gift(s)

A. Three Prerequisites

As you seek to discover your spiritual gift or gifts, ask yourself these questions:

1. Have I received Christ as my Savior? Unlike natural talents, spiritual gifts are bestowed only on

believers.

2. Am I walking in fellowship with the Lord? To be effective, spiritual gifts must be manifested in the

context of the fruit of the Holy Spirit. This fruit is impeded by unconfessed sin and a failure to abide

in Christ (John 15:4).

3. Do I really want to develop my gift(s)? A prerequisite to knowing your gifts is a willingness to go

through the effort to be involved in discovering and developing them.

B. Six Steps

1. Asking. Begin to ask God to show you your gifts (cf. Phil. 4:6-7; Jas. 1:5). God wants you to

discover and implement the gifts He has given you, and this is a request you can make with

confidence and expectation.

2. Awareness.

a. Expose yourself to the biblical teaching on spiritual gifts by studying Romans 12, 1 Corinthians

12-14, and Ephesians 4.

b. Expose yourself to one or more of the helpful books on spiritual gifts.

c. Expose yourself to other Christians who clearly know and use their spiritual gifts. Ask them about

their gifts and how they discovered them.

3. Aspiration. God is commited to your joy, not your misery. Then you will take delight in the Lord,

and he will answer your prayers (Ps. 37:4). As you pray and learn about the various gifts, ask

yourself what you would most want to do. For it is God who is at work in you both to will and to

work for His good pleasure (Phil. 2:13). Your feelings should not be the only test, but they may

indicate the direction for you to take. For example, Paul told Timothy, If someone aspires to the

office of overseer, he desires a good work (1 Tim. 3:1).

4. Activity. Just as we discover our natural talents by trying our hand at numerous things, in the same

way we can discover our spiritual gifts by experimenting with several of the available gifts. If we

don't try, we will never know. This requires availability and a willingness to learn our weaknesses

as well as strengths.

5. Ability. Activity eventually points to ability. Don't be premature in your personal evaluation,

because ability increases with practice. Be sensitive to areas of improvement. Look for opportunities

within the community of believers of which you are a part, and seek the evaluation of mature

Christians who are familiar with your activities. Because of the danger of self-deception, spiritual

gifts are best recognized by other members of the body.

6. Affirmation. The final affirmation of a spiritual gift is the blessing that should result from its

exercise. As you use your gift or gift-combination in the power of the Spirit, God will confirm and

establish you in your ministry, and there will continue to be positive feedback from those to whom

you minister. It has been said that desire may indicate it, ability will confirm it, and blessing will

accompany it.

VII. Developing Your Spiritual Gift(s)

Having discovered your gift or combination of gifts, you are accountable to yourself, others, and God to develop and cultivate that which the Spirit has implanted within you. In The Dynamics of Spiritual Gifts, William McRae suggests that the gifts of the Spirit are developed in three ways:

A. By exercise. Like natural talents, spiritual gifts are developed by practice, not just by desire.

Without regular exercise, they will suffer from atrophy. Continue to pursue opportunities and

persevere in the use of your gift(s).

B. By evaluation. Be open to the evaluation and counsel of other believers. Periodically ask godly

people to evaluate your ministry in terms of strengths, weaknesses, and ways to improve.

C. By education. More educational and developmental materials are available today than ever before.

Take advantage of the best books, classes, tapes, and seminars that can help you improve your God-

given abilities.

VIII. Danger of Abuse

The mobilization of spiritual gifts is critical to the qualitative and quantitative growth of the body of Christ. For this reason, we must be careful to avoid the many pitfalls associated with this crucial subject. Here are ten:

A. Spiritual gifts are not merely for personal use. They are designed for the edification of others. Others should benefit primarily; the user should benefit secondarily.

B. Spiritual gifts are not gained by merit or by begging. The very term charismata tells us that they are given solely by the grace of God (see Eph. 4:7). The Holy Spirit distributes them as he decides to each person …. (1 Cor. 12:11).

C. Spiritual gifts can be abused by being exercised in the power of the flesh. If they are not being used in the power of the Spirit and through the love of Christ, they are of no value (1 Cor. 13:1-3).

D. The discovery and use of spiritual gifts is not a game or an option. Your gifts will determine your ministry, and your ministry can have eternal consequences. God has called us to be committed and faithful to Him, and this is reflected in part by our stewardship of the abilities and opportunities He has given to us.

E. Spiritual gifts should not be a cause of discouragement. As a rule, they develop gradually, and this requires time and work. Don't be in a hurry, and don't become jealous of the gifts bestowed on others. As we have seen, gifts vary in nature, combination, extent, and intensity. God is sovereign in His distribution, and He has given you the gift(s) that perfectly suit your personality and circumstances. There is no reason to envy another person's ministry. God has called us to faithfulness, not results.

F. Spiritual gifts should not be a cause of pride. Since they are sovereignly distributed according to the grace of God, they ought to be regarded as divinely-entrusted responsibilities, not status symbols, achievements, or trophies. Christian character and maturity is measured by the fruit of the Spirit (Gal. 5:22-23), not spiritual gifts.

G. Spiritual gifts should not be sought as ends in themselves. In some circles, there is a tendency to exalt the gifts above the Giver.

H. Avoid extreme positions on the gifts that are not warranted by Scripture, like the teaching that we should not seek to discover spiritual gifts, or the teaching that a Spirit-filled Christian can have all the gifts.

I. The gifts of the Spirit can be counterfeited not only by the flesh but also by Satanic and demonic forces. Scripture counsels us to be sensitive to this problem. See Matthew 7:22-23; 24:24; 2 Corinthians 11:13-15; 1 Timothy 4:1; 2 Peter 2:1.

J. Avoid the temptation of projecting your gifts onto others. Our thinking is naturally colored by the gifts we have been given, and if we are not careful, we will take the prescription that works for us and turn it into the norm for everyone. This can lead to a judgmental perspective on our part and a sense of guilt on the part of others who are not gifted in the same way.

X. Directions for Use

Here are four principles that should govern our use of spiritual gifts:

A. Remember that the Holy Spirit is the true dynamic behind the gifts. They must be exercised in dependence upon His power.

B. Spiritual gifts function best in the sphere of love (the way that is beyond comparison; 1 Cor. 12:31). Paul placed his great description of love (1 Cor. 13) right in the middle of the most extensive biblical passage on spiritual gifts (1 Cor. 12-14). It is no accident that the two other major lists of spiritual gifts (Rom. 12 and Eph. 4) also include exhortations to love (see Rom. 12:9-10; Eph. 4:15-16).

C. Exercise: Go through the characteristics of love listed in 1 Corinthians 13:4-8 and visualize each of them in relation to the exercise of spiritual gifts in the body of Christ.

D. In your ministry, concentrate your energy in productive areas. It is wise to maximize time in gift-related activities and minimize time in activities for which you are not suited.

E. On the other hand, Scripture commands all believers to perform certain ministries regardless of individual gifts. Christian roles like intercession, faith, service, helps, mercy, and giving are the responsibility of all Christians, not just those who are specifically gifted in these areas. For example, some have the spiritual gift of evangelism, but all believers have a role of evangelism that corresponds to the opportunities they have been given. Be careful to avoid the spiritual cop-out mentality that says, That's not my gift!

Exercise: All believers are required to participate in certain Christian roles, and some of these roles correspond to several (but not all) of the spiritual gifts. Look up the references in the right column and see how they correspond to the gifts in the left column:

Spiritual Gifts to Some Commands to All

=========================================================================

1. Evangelism 1. Acts 1:8

2. Teaching 2. Matthew 28:19

3. Faith 3. 2 Corinthians 5:7

4. Giving 4. 2 Corinthians 9:7

5. Discernment 5. 1 John 4:1

6. Exhortation 6. Hebrews 3:13; 10:25

7. Knowledge 7. 2 Peter 3:18

8. Mercy 8. Ephesians 4:32

9. Service 9. Galatians 5:13

10. Wisdom 10. James 1:5

XI. Reflections

1. Write out your own definition of a spiritual gift.

2. How do spiritual gifts relate to the unity and diversity of the body of Christ?

3. What is the difference between spiritual gifts and the fruit of the Spirit?

4. What is the difference between spiritual gifts and natural talents?

5. List the three principle reasons for discovering and developing your spiritual gifts.

6. Do you fulfill the three prerequisites for discovering your spiritual gifts? What are the six steps for

discovering your gifts? How far have you moved in this process?

7. Go through the description of each of the spiritual gifts and ask these diagnostic questions as you do

so:

a. Do I have a strong sense of concern in this area?

b. Is this something I would enjoy doing?

c. Have I shown any ability in this area?

d. Have others given me positive feedback in this area?

XII. Scripture Memory Cards

Romans 12:4-5; 1 Corinthians 12:7; 13:13; Ephesians 4:12; 4:15; Colossians 1:18; 2 Timothy 2:2; 1 Peter 4:10.

Related Topics: Pneumatology (The Holy Spirit), Spiritual Gifts

Pages